Page 205 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 205
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 185
และสุขภาพหลังคลอดรวมถึงอาการไม่พึงประสงค์ ผลก�รศึกษ�
จากการใช้ยา และใช้แบบบันทึกปริมาณน�้านม โดย
ประเมินก่อนการทดลองหลังครบ 24 ชั่วโมงหลัง 1. ข้อมูลทั่วไป
คลอด พร้อมทั้งเริ่มให้ยาครั้งแรก จากนั้นมีการ ข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า มารดาหลังคลอดใน
ติดตามซ�้าในวันที่ 2, 3, 7 และ 14 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 29 ปี
2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล และร้อยละ 54.17 เป็นมารดาที่คลอดบุตรครรภ์แรก
1) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา แสดง
จ�านวนและร้อยละส�าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ค่าเฉลี่ย 2. ผลก�รรักษ�
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานส�าหรับข้อมูลเชิงปริมาณ เมื่อท�าการเปรียบเทียบปริมาณน�้านมของมารดา
2) เปรียบเทียบความแตกต่างของปริมาณ หลังคลอด พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีปริมาณน�้านมเฉลี่ย
น�้านมก่อน-หลังการรักษาในแต่ละกลุ่มด้วยสถิติ เพิ่มขึ้นจากวันแรกหลังคลอด (ตารางที่ 1) โดยกลุ่ม
paired t-test ทดลองที่ได้รับยาประสะน�้านม พบว่า ยาประสะน�้านม
3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปริมาณ มีผลเพิ่มปริมาณน�้านมอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
น�้านมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยสถิติ ตั้งแต่วันที่ 3 หลังคลอด และปริมาณน�้านมที่ 14 วัน
Unpaired t-test หลังคลอดเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่ากลุ่ม
ที่ได้รับยาประสะน�้านมมีปริมาณน�้านมมากกว่ากลุ่ม
ควบคุมอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ p < 0.001 (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 1 ปริมาณน�้านมของมารดาหลังคลอด ก่อนและหลัง ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
x ± SD. t df P-value
กลุ่มทดลอง 1 วันแรกหลังคลอด 0.66 ± 0.31 28.811 11 0.000*
(n = 12) 14 วันหลังคลอด 111.5 ± 3.87
กลุ่มควบคุม 1 วันแรกหลังคลอด 1.00 ± 2.75 32.376 11 0.000*
(n = 12) 14 วันหลังคลอด 74.25 ± 2.29
P-value 0.001*
ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยปริมาณน�้านมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
Day 1 Day 2 Day 3 Day 7 Day 14
กลุ่มทดลอง
(n = 12) 0.66 ± 0.31 5.75 ± 0.73 31.50 ± 1.22 50.83 ± 0.33 111.5 ± 3.87
กลุ่มควบคุม
(n = 12) 1.00 ± 2.75 5.25 ± 0.56 21.16 ± 1.02 31.33 ± 0.81 74.25 ± 2.29
p-value - 0.597 < 0.001* < 0.001* < 0.001*
P-value 0.001*