Page 153 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 153

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  133




              ประดับรูปหอก ยาว 4-5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีขาว  ระบาดทั่วโลกของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (CO-
              หรือสีขาวอมสีชมพูอ่อน โคนติดกันเป็นหลอด ยาว   VID-19) นั้น นักวิจัยของประเทศไทยได้ท�าการศึกษา
              1.5-2 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 3 แฉก โคนกลีบ   ฤทธิ์ของสมุนไพรไทยในหลอดทดลองต่อเชื้อ SARS

              ดอกติดกันเป็นหลอด ยาว 4.5-5.5 เซนติเมตร ปลาย  CoV-2 ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคดังกล่าว พบว่า สารสกัด
              แยก 3 แฉก รูปขอบขนาน แฉกใหญ่ 1 กลีบ กว้าง   ส่วนใต้ดินของกระชายที่ความเข้มข้น 10 ไมโครกรัม

              ประมาณ 7 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 1.8 มิลลิเมตร   ต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งเชื้อ SARS CoV-2 ได้
              อีก 2 แฉก ขนาดเท่ากัน กว้าง 5 มิลลิเมตร ยาว 1.5   ถึง 99.95% และมีการศึกษาเชิงลึกซึ่งมีแนวโน้มที่จะ
              เซนติเมตร กลีบข้างมี 2 กลีบ สีชมพูอ่อน รูปไข่กลับ   พัฒนากระชายเป็นยาต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

              ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร กลีบปากอยู่ตรงกลางมี  2019 (COVID-19) ต่อไป [5]
              สีขาวหรือสีชมพู รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน กว้าง      อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ ประเทศไทยยังไม่มีข้อ

              2.5-3.5 เซนติเมตร โค้งเว้าเข้าใน ขอบหยิกงอเล็กน้อย  ก�าหนดมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุม
              ปลายผาย มีสีชมพูหรือสีม่วงแดงเป็นเส้น ๆ เกือบทั้ง  คุณภาพของเครื่องยากระชาย ซึ่งได้จากส่วนรากและ
              กลีบ เกสรเพศผู้สมบูรณ์มี 1 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น หุ้ม  เหง้าใต้ดิน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา

              ก้านชูยอดเกสรเพศเมีย สันอับเรณูพับกลับ ปลายเว้า  คุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของเครื่องยากระชาย ซึ่งผล
              ตื้น รังไข่ใต้วงกลีบรูปขอบขนาน มี 3 ช่อง แต่ละช่องมี  การศึกษาจะน�าไปสู่การจัดท�าข้อก�าหนดคุณภาพและ
              ออวุลจ�านวนมาก ผลแบบผลแตกแห้ง เมล็ดสีด�า เยื่อ  เสนอเป็นมาตรฐานคุณภาพของเครื่องยากระชายของ

              หุ้มเมล็ดจักเป็นครุย  กระชายเป็นสมุนไพรที่นิยม  ประเทศต่อไป
                              [2]
              น�ามาประกอบอาหารในชีวิตประจ�าวันและมีการใช้
              ในทางการแพทย์พื้นบ้านด้วย ส่วนที่น�ามาใช้ทางยา         ระเบียบวิธีศึกษำ

              คือ ส่วนใต้ดินที่มีทั้งเหง้าและราก สรรพคุณยาไทย
              กระชายมีรสเผ็ดร้อนขม แก้ปวดมวนในท้อง แก้ชัก   1. วัสดุ

              แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ บ�ารุงก�าลัง บ�ารุงก�าหนัด เป็นต้น [2]     1.1 ตัวอย่างสมุนไพร
              ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2562 (บัญชียาจาก         ตัวอย่างกระชาย จ�านวน 17 ตัวอย่าง จาก
              สมุนไพร) กระชายเป็นส่วนประกอบในหลายต�ารับยา   แหล่งธรรมชาติในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ

              ได้แก่ ยาหอมทิพโอสถ ยาประสะกานพลู ยาเลือดงาม   ภาคตะวันออก ภาคกลาง ตะวันตกเฉียงใต้ จ�านวน 11
              ยากษัยเส้น องค์ประกอบทางเคมีของกระชาย ส่วน  ตัวอย่าง และร้านยาสมุนไพร ในเขตกรุงเทพมหานคร
                       [3]
              ใหญ่เป็นสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ เช่น pinostrobin,   จ�านวน 6 ตัวอย่าง เก็บตัวอย่างในช่วงเดือนกันยายน
              pinocembrin, boesenbergin A, boesenbergin   2557 ถึงมกราคม 2560 ตัวอย่างจากแหล่งธรรมชาติ
              B, panduratin A, 4-hydroxypanduratin A,     ผ่านการพิสูจน์ทราบชื่อวิทยาศาสตร์และจัดท�าตัว

              panduratin B-1, panduratin B-2, rubranine,   อย่างพรรณไม้อ้างอิงเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์พืชกรม
              rotundaflavone นอกจากนี้ยังพบสารกลุ่มโพลิฟีนอล   วิทยาศาสตร์การแพทย์ น�ามาคัดเลือกส่วนที่ไม่
              และน�้ามันหอมระเหย  ขณะที่มีวิกฤตการณ์แพร่  ต้องการออก ล้างให้สะอาด ลดขนาด แล้วผึ่งลมให้
                               [4]
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158