Page 139 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 139

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  685




                       ตารางที่ 1  จำานวนและร้อยละของผู้เข้าร่วมวิจัยจำาแนกตามลักษณะประชากร (n = 30)

            ลักษณะประชากร                                      เพศชาย (n  = 15)   เพศหญิง (n = 15)
                                                                  จำานวน (%)       จำานวน (%)
            อายุเฉลี่ย (ปี: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)    45.93 ± 9.87     45.87 ± 9.47
            ดัชนีมวลกาย (กก./ตร.ม.: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)   24.98 ± 3.33    23.75 ± 3.53
            ความดันโลหิตช่วงบน (มิลลิเมตรปรอท: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน   126.47 ± 12.56    117.40 ± 15.22
            มาตรฐาน)
            ความดันโลหิตช่วงล่าง (มิลลิเมตรปรอท: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน   82.40 ± 11.51    80.87 ± 11.64
            มาตรฐาน)
            อัตราการเต้นหัวใจ (จำานวนครั้ง/นาที: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน   77.47 ± 8.23    79.93 ± 8.34
            มาตรฐาน)

            ข้อมูลการตรวจร่างกาย (ก่อนรักษา)
            ข้างที่ปวด
              ด้านซ้าย                                            7 (46.70)         4 (26.70)
                 ด้านขวา                                          8 (53.30)        11 (73.30)

            กล้ามเนื้อที่พบอาการปวด
                 trapezius                                        5 (33.30)         8 (53.30)
                 levator scapulae                                 9 (60.00)         7 (46.70)
                 rhomboid                                          1 (6.70)         0 (0.00)
            ระยะเวลาที่มีอาการปวด (สัปดาห์: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)  3.97 ± 4.08   2.95 ± 2.69
              2 วัน                                                0 (0.00)         1 (6.70)
              4 วัน                                                1 (6.70)         0 (0.00)
              1 สัปดาห์                                           4 (26.70)         3 (20.00)
              2 สัปดาห์                                           2 (13.30)         7 (46.70)
              3 สัปดาห์                                            1 (6.70)         1 (6.70)
              4 สัปดาห์                                           4 (26.70)         0 (0.00)
              8 สัปดาห์                                           2 (13.30)         3 (20.00)
              16 สัปดาห์                                           1 (6.70)         0 (0.00)





            ระยะเวลาที่มีอาการพบว่า เพศชายมีค่าเฉลี่ย 3.97 ±   4 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 26.70 ในเพศหญิง คือ 2
            4.08 สัปดาห์ ในเพศหญิงมีค่าเฉลี่ย 2.95 ± 2.69   สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 46.70
            สัปดาห์ เมื่อจ�าแนกข้อมูลรายสัปดาห์ตามกลุ่มเพศ

            พบว่า ระยะเวลาที่มีอาการสูงสุดในเพศชาย คือ 1 และ   ส่วนที่ 2 ก�รประเมินระดับคว�มปวดของผู้เข้�
                                                        ร่วมวิจัยก่อนก�รรักษ�

                                                             การประเมินความปวดด้วยมาตรวัดแบบตัวเลข
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144