Page 136 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 136
682 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในปี พ.ศ. 2558 โรคระบบ กรอบแนวคิดในก�รวิจัย
กล้ามเนื้อและโครงกระดูก และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
(Diseases of the Musculoskeletal system and
Connective tissue) มีอัตราป่วยเท่ากับ 371.76 ต่อ ระดับความปวดก่อนการนวด จ�านวนครั้งที่ใช้
รักษา ประเมินโดยใช้
ประชากรพันคน ซึ่งสูงเป็นอันดับ 4 จาก 21 กลุ่ม PPT และ NRS ในการนวด
โรค [9]
อาการปวดบ่าทางหัตถเวชกรรมไทย จัดเป็นโรค ระเบียบวิธีศึกษ�
ลมชนิดหนึ่ง เรียกว่า ลมปลายปัตคาด ท�าให้กล้ามเนื้อ
บ่าแข็งเกร็ง ที่พบบ่อยได้แก่ โรคลมปลายปัตคาด รูปแบบก�รศึกษ�
สัญญาณ 4 หรือ 5 หลัง มีอาการปวดตึงคอ กล้ามเนื้อ โครงการวิจัยนี้เป็นการวิจัยทางคลินิกแบบไม่มี
บ่าสะบัก อาจพบอาการปวดร้าว (referred pain) ร่วม กลุ่มควบคุม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจ�านวนครั้ง
[10]
ด้วย ซึ่งการนวดไทยจะช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียน ที่เหมาะสมในการนวดไทยในผู้ป่วยที่มีอาการปวดบ่า
เลือด น�้าเหลือง และระบบประสาทให้ท�างานดีขึ้น ไหล่ โดยท�าการนวดไทย 9 ขั้นตอน ประเมินระดับ
ช่วยท�าให้กล้ามเนื้อคลายตัว และยังท�าให้รู้สึกผ่อน ความปวดของผู้เข้าร่วมวิจัยก่อนและหลังการรักษา
คลาย [11-12] การศึกษาผลการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ โดยใช้ Pressure Pain Threshold algometer
ปวดคอหรือหลังส่วนบนจาก myofascial pain syn- ประเมินความเริ่มรู้สึกปวดต่อแรงกด (Pressure Pain
drome ด้วยการนวดไทยร่วมการประคบสมุนไพรใน Threshold: PPT) บริเวณ Myofascial trigger
ผู้ป่วย จ�านวน 32 ราย พบว่า ระดับความเจ็บปวดลด points (MTrPs) ที่มีอาการปวดมากที่สุด จ�านวน 3
ลงภายหลังได้รับการรักษาอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ครั้ง หาค่าเฉลี่ยแล้วบันทึกผล และใช้มาตรวัดแบบ
[13]
(p < 0.05) ตัวเลข (Numeric Rating Scale: NRS) ประเมิน
ในปี 2552–2558 มีรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกปวด ซึ่งเป็นมาตรวัดแบบตัวเลขโดยผู้เข้า
กับการนวดไทยในผู้ป่วยที่มีอาการปวดบ่าไหล่ จ�านวน ร่วมวิจัยเป็นผู้ประเมิน ท�าการนัดเพื่อนวดครั้งถัดไป
8 งาน ซึ่งมีวิธีการวิจัยที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ ระยะเวลา จนระดับ NRS หลังการนวดเท่ากับ 0–1 จึงสรุปจ�านวน
การนวด (1–4 สัปดาห์), ความถี่ในการนวด (1–3 ครั้ง ครั้งที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งโครงการวิจัย
ต่อสัปดาห์) และจ�านวนครั้ง (1–12 ครั้ง) ยังขาดข้อมูล นี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาการศึกษา
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนครั้งของการนวด วิจัยในคน โรงพยาบาลสวนปรุง เลขที่ 2/2561
กับระดับของความปวด [13-20] การศึกษานี้เป็นการศึกษา
ทางคลินิกแบบไม่มีกลุ่มควบคุม สถานที่ศึกษา คือ ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง
คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัด ประชากร ผู้ป่วยที่มีอาการปวดบ่าไหล่ที่เข้ารับ
เชียงใหม่ บริการคลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสวนปรุง
จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนมีนาคม–มิถุนายน 2561