Page 141 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 141
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 687
ภาพที่ 3 ค่าเฉลี่ยของจำานวนครั้งที่เหมาะสมของการนวดไทยเพื่อรักษาอาการปวดบ่าไหล่ แบ่งตามระดับความรุนแรง
ของอาการปวดก่อนการรักษา
ส่วนที่ 3 จำ�นวนครั้งที่ผู้เข้�ร่วมวิจัยห�ยปวด การนวดครั้งที่ 6 และเห็นสมควรให้ยุติการรักษา
จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ป่วยจ�านวน 24 รายหาย จากภาพที่ 3 เมื่อแบ่งกลุ่มผู้ป่วยที่หายปวดบ่า
จากอาการปวดบ่าไหล่หลังการนวดไทย 1–5 ครั้ง โดย ไหล่หลังจากการนวดไทย ตามระดับความรุนแรงของ
มีผู้ป่วยหายหลังการนวดครั้งแรกจ�านวน 6 ราย ซึ่ง อาการปวดก่อนการรักษา พบว่า ค่าเฉลี่ยของจ�านวน
ก่อนการรักษามีระดับความปวดเล็กน้อย 2 รายและ ครั้งในการนวดไทยในแต่ละระดับความรุนแรงของ
ระดับความปวดปานกลาง 4 ราย ผู้ป่วยหายหลังจาก อาการปวดก่อนการรักษา คือ ระดับความปวดเล็ก
การนวดครั้งที่ 2 จ�านวน 8 ราย ซึ่งก่อนการรักษามี น้อย 1.83 ± 0.75 ครั้ง ระดับความปวดปานกลาง 2.50
ระดับความปวดเล็กน้อย 3 รายและระดับความปวด ± 1.26 ครั้ง และระดับความปวดมาก 3.50 ± 0.71 ครั้ง
ปานกลาง 5 ราย ผู้ป่วยหายหลังจากการนวดครั้งที่ 3
จ�านวน 5 ราย ซึ่งก่อนการรักษามีระดับความปวดเล็ก อภิปร�ยผล
น้อย 1 ราย ระดับความปวดปานกลาง 3 ราย และ จากผลการศึกษา พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยจ�านวน
ระดับความปวดมาก 1 ราย ผู้ป่วยหายหลังจากการ 30 รายที่ได้รับการนวดไทยมีระดับความปวดบ่าไหล่
นวดครั้งที่ 4 จ�านวน 4 ราย ซึ่งก่อนการรักษามีระดับ ลดลง โดยตามหลักการแพทย์แผนไทย การนวดไทย
ความปวดปานกลาง 3 ราย และระดับความปวดมาก สามารถช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนเลือด น�้าเหลือง
1 ราย ผู้ป่วยหายหลังจากการนวดครั้งที่ 5 จ�านวน 1 และระบบประสาทให้ท�างานดีขึ้น ช่วยท�าให้กล้ามเนื้อ
ราย ซึ่งก่อนการรักษามีระดับความปวดปานกลาง 1 คลายตัว และยังท�าให้รู้สึกผ่อนคลาย ซึ่งสอดคล้อง
ราย และมีผู้ป่วย 6 รายที่ไม่หายปวดบ่าไหล่หลังจาก กับงานวิจัยของกฤตฤณ กุลเวิน, เจษฎา อุดมพิทยา