Page 138 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 138
684 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
นวด 1 คน โดยผู้ท�าการนวดจะใช้นิ้วมือในการนวด จ�านวนครั้งที่ใช้ในการนวดรักษาเมื่อวัดผล NRS หลัง
ดังแสดงในภาพที่ 1 การนวดได้ 0–1
3. ขั้นตรวจการประเมินหลังรักษา และนัด Primary Outcome Measures:
หมายการรักษา - จ�านวนครั้งที่ใช้ในการนวดรักษา
หลังรักษา ตรวจร่างกายและวัด PPT ที่ต�าแหน่ง Secondary Outcome Measures:
เดิม จ�านวน 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย ประเมิน NRS และ - ค่าแรงกดที่เริ่มรู้สึกปวด PPT
บันทึกผล นัดหมายครั้งต่อไปสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จนกว่า - ค่าระดับความรู้สึกปวด NRS
NRS เหลือ 0-1 แล้วสรุปผลจ�านวนครั้งที่นวดในผู้เข้า
ร่วมวิจัย ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ
เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
1. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป
2. แบบคัดกรองตามเกณฑ์คัดเลือกและเกณฑ์ ผลก�รศึกษ�
คัดออกผู้เข้าร่วมวิจัย
3. แบบบันทึกการรักษาแพทย์แผนไทย โรงพยาบาล ส่วนที่ 1 ลักษณะประช�กรของผู้เข้�ร่วมวิจัย
สวนปรุง มีผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งสิ้น 30
4. คู่มือการนวดไทยแบบราชส�านัก ราย เป็นเพศชายจ�านวน 15 ราย และเพศหญิงจ�านวน
5. เครื่องมือ Pressure Pain Threshold al- 15 ราย พบว่า เพศชายมีอายุเฉลี่ย 45.93 ปี มีค่าดัชนี
gometer (แบบ Digital ยี่ห้อ Wagner Force มวลกายเฉลี่ย 24.98 กก./ตร.ม. ค่าเฉลี่ยของความ
OneTM Digital Force gage รุ่น FCMI 25) ดันโลหิตช่วงบนและช่วงล่าง 126.47 และ 82.40
6. เครื่องมือประเมินระดับความรู้สึกปวด มิลลิเมตรปรอท และเพศหญิงมีอายุเฉลี่ย 45.87 ปี ค่า
Numeric Rating Scales (สถานการแพทย์แผนไทย ดัชนี มวลกายเฉลี่ย 23.75 กก./ตร.ม. ค่าเฉลี่ยของ
ประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ความดันโลหิตช่วงบนและช่วงล่าง 117.40 และ 80.87
มหาวิทยาลัยมหิดล) มิลลิเมตรปรอท (ตารางที่ 1)
ข้อมูลผู้เข้าร่วมวิจัยของการตรวจร่างกาย (ก่อน
ก�รเก็บรวบรวมข้อมูล การรักษา) พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยเพศชายและเพศหญิง
การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดลอง จ�านวน ส่วนใหญ่ มีอาการปวดบ่าด้านขวาคิดเป็นร้อยละ
30 คน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่น�ามาใช้ส�าหรับการเก็บ 53.30 และ 73.30 ตามล�าดับ ต�าแหน่งกล้ามเนื้อที่พบ
ข้อมูลโดยการเก็บข้อมูลหลังการนวดรักษาทุกครั้ง อาการปวดมากที่สุดในเพศชาย คือ levator scapulae
จากแบบบันทึกการรักษาแพทย์แผนไทย ร่วมกับ จ�านวน 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.00 ส่วนเพศหญิง คือ
เครื่องมือในการวัด PPT และ NRS ซึ่งจะเก็บผล trapezius จ�านวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.30 ด้าน