Page 137 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 137
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 683
กลุ่มตัวอย่าง ใช้การคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง คือ แอลกอฮอล์ (drug and/or alcohol intoxication)
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดบ่าไหล่ ที่เข้ารับบริการคลินิก 6. เป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลัน
แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ 7. เป็นโรคกระดูกพรุนรุนแรง
ระหว่างเดือนมีนาคม–มิถุนายน 2561 ตามเกณฑ์คัด 8. มีลิ่มเลือดในหลอดเลือดด�า (deep vein
เข้า เกณฑ์คัดออก และยินยอมเข้าร่วมโครงการ โดย thrombosis)
ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์แผนไทย ว่ามีลมปลาย 9. เป็นโรคติดต่อต่าง ๆ ได้แก่ วัณโรคระยะแพร่
ปัตคาดสัญญาณ 4 หลัง จ�านวน 30 คน เชื้อ กลากเกลื้อน หรือโรคผิวหนังในระยะที่อาจติดต่อ
สู่ผู้อื่นได้โดยการสัมผัส
เกณฑ์คัดเข้� (inclusion criteria)
วิธีดำ�เนินก�ร
1. อายุระหว่าง 20–60 ปี เพศชายหรือหญิง
2. มีอาการปวดบ่าไหล่ โดยมีระดับความปวด 1. ขั้นตอนการคัดกรอง ซักประวัติและตรวจ
ตั้งแต่ 1-10 คะแนน (NRS = 1–10) เป็นระยะเวลา ร่างกาย ตามเกณฑ์คัดเข้าและเกณฑ์คัดออกผู้เข้าร่วม
ตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป วิจัย ตรวจร่างกายวัด PPT ด้วยอุปกรณ์วัดค่าแรงกด
3. สามารถสื่อสารและให้ความร่วมมือได้ ที่เริ่มรู้สึกปวด โดยวัดที่จุดเจ็บ ค่าเฉลี่ยจากการวัด
ค่าแรงกด จ�านวน 3 ครั้ง อัตราความเร็วของการเพิ่ม
เกณฑ์คัดออก (exclusion criteria) [21] แรงกดคงที่ (เฉลี่ย 1.00 กิโลกรัม ต่อวินาที) และ
1. มีภาวะกระดูกหัก หรือ ข้อเคลื่อน (bone ประเมินระดับความรู้สึกปวด NRS หากเป็นตาม
fracture and/or joint dislocation) บริเวณที่มี เกณฑ์ที่ก�าหนด และผู้เข้าร่วมวิจัย ยินยอมเข้าร่วมการ
อาการ วิจัย จะให้ลงชื่อในหนังสือยินยอมเข้าร่วมการวิจัย
2. มีโครงสร้างของกระดูกที่ผิดปกติ 2. ขั้นตอนการทดลอง ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับ
3. เป็นแผลเปิด แผลเรื้อรัง การรักษาโดยการนวดไทยประยุกต์บริเวณบ่าไหล่ 9
4. เป็นมะเร็งบริเวณที่มีอาการ ขั้นตอน ใช้เวลา 40 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง มีผู้ท�าการ
5. อยู่ในภาวะที่ได้รับพิษของยา หรือ เครื่องดื่ม
ภาพที่ 1 ขั้นตอนการดำาเนินการวิจัยและขั้นตอนการนวด