Page 218 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 218

448 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตารางที่ 5  ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อรากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ของเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1% rhinacanthin C)
                    ด้วยวิธี agar well diffusion

                  สารทดสอบ                     ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางส่วนใส (zone diameter, mm)*
             (ปริมาตร 100 ไมโครลิตร)   T. rubrum    T. mentagrophytes   M. gypseum     M. canis
            เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง   34.0 ± 1.0      19.0 ± 1.0        13.5 ± 1.5    19.5 ± 1.5
            (0.1% rhinacanthin C)

           * รวมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลุม (well) 8 มิลลิเมตร



           ที่ปริมาตรไม่น้อยกว่า 50 ไมโครลิตร เมื่อ spread ลง  สถิติ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับเจลสารสกัดทองพันชั่ง
           บนอาหารชนิดแข็งพื้นที่ประมาณ 57 ตารางเซนติเมตร   ที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% (p =
           สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้เป็นระยะเวลาไม่  0.030)

           น้อยกว่า 3 วัน (ภาพที่ 3)                       การตรวจสุขภาพและพฤติกรรมทั่วไปของสัตว์
                                                       ทดลอง แบ่งเป็น ระบบหายใจ ลักษณะการเคลื่อนไหว
           4. ก�รทดสอบประสิทธิผลของเจลส�รสกัดร�ก       การตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง การตอบ
           ทองพันชั่งในระดับสัตว์ทดลอง                 สนองต่อสิ่งเร้า ระบบหมุนเวียนโลหิต และลักษณะ

                การทดสอบประสิทธิผลของเจลสารสกัดราก     ดวงตา พบว่าไม่มีสัตว์ที่มีอาการหรือพฤติกรรมที่ผิด

           ทองพันชั่งในระดับ in vivo โดยใช้หนูตะเภานำามา  ปกติตลอดการทดสอบ นอกจากนี้ ผลการเพาะเชื้อรา
           เหนี่ยวนำาให้เกิดการติดเชื้อ และทดสอบผลของตำารับ  จากการเก็บเส้นขนบริเวณทดสอบในหนูตะเภาแต่ละ
           ต่อสัตว์ทดลอง และความสามารถในการลดการติด    ตัว ทั้ง 4 ตำาแหน่ง กลุ่มละ 6 ตัว ก่อนและหลังการให้

           เชื้อของตำารับ โดยเก็บข้อมูลนำ้าหนักของสัตว์ทดลอง  สารทดสอบ พบว่าจำานวนเส้นขนที่พบเชื้อราหลังจาก
           ตลอดการศึกษา ซึ่งหนูตะเภามีนำ้าหนักเริ่มต้น  ได้รับสารทดสอบ 14 วัน มีจำานวนลดลงในทุกกลุ่ม
           ประมาณ 150-170 กรัม พบว่าค่านำ้าหนักสัตว์เฉลี่ยใน     การประเมินอัตราการติดเชื้อหลังหนูตะเภาได้

           แต่ละกลุ่มตลอดการทดสอบไม่มีความแตกต่างอย่าง  รับสารทดสอบครบกำาหนด โดยเทียบเป็นสัดส่วน
           มีนัยสำาคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ยนำ้าหนักสัตว์ตั้งแต่วัน  เปอร์เซ็นต์ต่อจำานวนเชื้อราก่อนการทดสอบในแต่ละ

           ที่เริ่มจนจบการทดสอบ โดยมีนำ้าหนักในวันสิ้นสุดการ  กลุ่ม พบว่าหลังการทดสอบหนูตะเภากลุ่มที่ได้รับยา
           ทดสอบประมาณ 340-540 กรัม สัตว์ทดลองแต่ละ    ต้านเชื้อรา ketoconazole cream มีอัตราการติดเชื้อ
           กลุ่มมีอัตราการกินอาหารเฉลี่ยต่อสัปดาห์ตั้งแต่  เหลืออยู่ 4.26% กลุ่มที่ได้รับเจลสารสกัดรากทอง

           สัปดาห์ที่ 0 ถึง 4 ของการทดสอบ ไม่พบความแตก  พันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1%
           ต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ในส่วนอัตราการกินนำ้า  มีอัตราการติดเชื้อ 11.46% กลุ่มที่ได้รับเจลสารสกัด

           เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของหนูตะเภา พบว่าในสัปดาห์ที่ 2   รากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี
           ของสัตว์กลุ่มที่ได้รับยาต้านเชื้อรา ketoconazole   0.05% มีอัตราการติดเชื้อ 28.05% และหนูตะเภากลุ่ม
           cream มีอัตราการกินนำ้าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง  ที่ได้รับเชื้อราแต่ไม่ได้รับสารทดสอบ (non-treated)
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223