Page 222 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 222

452 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ที่เป็นสารออกฤทธิ์ในสารสกัดรากทองพันชั่งด้วยวิธี   นอกจากนี้จากผลการศึกษาความคงตัวของตำารับ
           HPLC และตรวจสอบการปนเปื้อนของโลหะหนักใน     เบื้องต้นจึงเลือกใช้บรรจุภัณฑ์เป็นขวดทึบแสงที่ปิด

           สารสกัดด้วยวิธี ICP-MS ผลการวิเคราะห์พบว่าสาร  สนิท เพื่อลดโอกาสการระเหยของแอลกอฮอล์ใน
           สกัดรากทองพันชั่งจากการสกัดทั้ง 2 ครั้ง มีปริมาณ  ตำารับที่จะทำาให้ตัวยาสำาคัญละลายในตำารับได้ลดลง
           สารสำาคัญตามที่ต้องการ และไม่พบโลหะหนักที่มีพิษ  และทำาให้ตำารับขุ่น รวมถึงหลีกเลี่ยงการเก็บรักษา

           ปนเปื้อนเกินเกณฑ์การยอมรับที่กำาหนด         ตำารับในที่มีอากาศร้อน ซึ่งสภาวะการเก็บรักษาดัง
                ปัจจุบันยาต้านเชื้อราสำาหรับใช้ภายนอกมีอยู่  กล่าวจะทำาให้ตำารับมีความคงตัวดีขึ้น สภาวะการเก็บ
           หลายรูปแบบ ได้แก่ ครีม เจล ยานำ้า ขี้ผึ้ง และแชมพู   รักษาที่กำาหนดขึ้นนี้สอดคล้องกับการศึกษาความ

           โดยการพัฒนารูปแบบตำารับจะสัมพันธ์กับคุณสมบัติ  คงตัวของสารสกัดทองพันชั่งที่เคยมีรายงานมาก่อน [3]
                                       [27]
           ทางกายภาพและเคมีของตัวยาสำาคัญ  สารสกัดราก      จากสูตรตำารับดังกล่าวเตรียมเจลสารสกัดราก
           ทองพันชั่งสามารถละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ และ   ทองพันชั่งที่มีปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% และ

           ละลายได้น้อยในนำ้า การศึกษานี้จึงเลือกพัฒนาตำารับ  0.05% w/w แล้วนำามาตรวจวิเคราะห์คุณภาพ โดย
           ในรูปแบบเจลที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เริ่มต้น  การวิเคราะห์ปริมาณสารสำาคัญด้วยวิธี HPLC พบว่า

           จากการพัฒนาสูตรตำารับเจลพื้นสำาหรับใช้เตรียมเจล  ตำารับที่เตรียมได้ทั้งหมดมีปริมาณสารไรนาแคนทิน
           สารสกัดรากทองพันชั่ง เลือกใช้สารก่อเจลเป็น Na   ซี อยู่ในเกณฑ์ที่กำาหนด (ร้อยละ 90.0-110.0 ของ
           CMC และเพิ่ม citrate buffer สำาหรับควบคุม pH   ปริมาณที่ระบุในฉลาก) การวิเคราะห์การปนเปื้อน

           ของตำารับ โดยใช้ 0.28% citric acid และ 1% sodium   จุลชีพ (microbial limit test) และการปนเปื้อนโลหะ
           citrate ควบคุมค่า pH ของเจลให้เป็นกรด (pH 5.5)   หนัก (heavy metal test) พบว่าตำารับที่เตรียมได้ทั้ง

           เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพผิวหนังปกติ ลดความเสี่ยง  2 ตำารับ ไม่มีการปนเปื้อนจุลชีพ และไม่พบโลหะหนัก
           ในการเกิดการระคายเคือง และลดการติดเชื้อที่  ที่เป็นพิษต่อร่างกาย ดังนั้นเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง
           ผิวหนัง  ซึ่งปริมาณสารปรับความเป็นกรด-ด่างทั้ง  ที่เตรียมได้นี้จึงมีคุณภาพตรงตามเกณฑ์มาตรฐานที่
                 [28]
           สองชนิดที่เลือกใช้อยู่ในช่วงที่มีการใช้กันโดยทั่วไป  กำาหนด
           สำาหรับผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ภายนอกชนิดไม่ต้องล้างออก      การทดสอบผลของตำารับผลิตภัณฑ์สมุนไพรใน
           (0.0000005 - 4% citric acid และ 0.000005 – 10%   การต้านเชื้อรากลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ชนิดต่าง ๆ ระดับ

                         [29]
           sodium citrate)  ในเบื้องต้นกำาหนดปริมาณสาร  in vitro ด้วยวิธี agar well diffusion แสดงให้เห็น
           สำาคัญไรนาแคนทิน ซี ในตำารับเป็น 0.1% w/w โดย  ว่า เจลสารสกัดทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสาร
           เลือกจากข้อมูลผลการทดสอบการระคายเคืองต่อ    ไรนาแคนทิน ซี 0.1% สามารถยับยั้งการเจริญของ

           ผิวหนังกระต่ายเพื่อหาความเข้มข้นที่เหมาะสมของ  เชื้อราก่อโรคทั้ง 4 ชนิดที่ทำาการทดสอบได้ ในขณะที่
           สารสกัด และใช้แอลกอฮอล์ละลายสารสกัดรากทอง   เจลพื้นไม่แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อรา และเมื่อเปรียบเทียบ

           พันชั่งเพื่อผสมในตำารับ โดยใช้เอทานอล 10% โดยนำ้า  ผลของเจลสารสกัดรากทองพันชั่งต่อการยับยั้งการ
           หนัก ซึ่งเอทานอลในปริมาณดังกล่าวนี้มีผลเชิงบวก  เจริญของเชื้อราที่ทำาการทดสอบแต่ละชนิด พบว่า
                                                 [30]
           สำาหรับการกระตุ้นรักษาแผล (wound healing)    เจลสารสกัดรากทองพันชั่งสามารถยับยั้งการเจริญ
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227