Page 213 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 213
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 443
สภาพดำาเนินการโกนขนหนูตะเภาบริเวณด้านหลัง ให้คะแนนอย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ตามเกณฑ์ที่
แต่ละตัวด้วยเครื่องโกนไฟฟ้า แบ่งผิวหนังที่บริเวณ กำาหนดคือ 0 (ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่ผิวหนัง),
แผ่นหลังของหนูตะเภาแต่ละตัว เป็น 4 ตำาแหน่ง โดย 1 (ผิวหนังแดงเล็กน้อย), 2 (ผิวหนังแดงชัดเจน มีการ
แต่ละตำาแหน่งจะมีขนาดประมาณ 1.25 เซนติเมตร x ตั้งชันของขนบริเวณที่มีการบวม มีขนร่วง), 3 (ผิวหนัง
1.25 เซนติเมตร จากนั้นทายาชา lidocaine ในแต่ละ แดงเป็นบริเวณกว้าง มีสะเก็ด มีขนร่วง และมีแผลที่
ตำาแหน่งแล้วทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที และใช้กระดาษ ผิวหนัง), 4 (ผิวหนังบางส่วนถูกทำาลาย มีขนร่วง), และ
ทราย เบอร์ 4 ขูดบริเวณทั้ง 4 ตำาแหน่ง ตำาแหน่งละ 4 5 (ผิวหนังถูกทำาลายทั้งหมด และขนร่วงทั้งบริเวณนั้น)
ครั้ง แล้วเช็ดทำาความสะอาดด้วย 70% แอลกอฮอล์ 2.6.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
ทำาการหยอดเชื้อรา M. canis ปริมาตร 100 ไมโครลิตร ข้อมูลนำ้าหนักตัว การกินนำ้า และการกิน
ลงในทั้ง 4 ตำาแหน่ง ของหนูตะเภาแต่ละตัว ตามการ อาหาร นำามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (des-
แบ่งกลุ่ม ยกเว้นกลุ่มควบคุมลบ (negative control) criptive statistics) ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และทำาการเหนี่ยวนำาการติดเชื้อของสัตว์ทดลองซำ้า และการทดสอบสมมติฐานข้อมูลของค่าเฉลี่ยใช้สถิติ
ตามขั้นตอนข้างต้น 5 วัน แล้วจึงพักหนูตะเภา 6 วัน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทิศทางเดียว (One-way
หลังจากครบกำาหนด นำาหนูตะเภาทุกตัวมาทำาการเก็บ ANOVA ที่ p < 0.05) โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม
เส้นขนทั้ง 4 ตำาแหน่ง โดยในแต่ละตำาแหน่งจะเก็บเส้น IBM SPSS Statistic 23 กำาหนดระดับค่าความเชื่อ
ขนจำานวน 10 เส้น นำาไปเพาะเลี้ยงเพื่อดูการเจริญของ มั่นที่ 95% ถ้าผลการวิเคราะห์มีความแตกต่างกันอย่าง
เชื้อราบน potato dextrose agar (PDA) เป็นเวลา มีนัยสำาคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของ
อย่างน้อย 7-14 วัน เพื่อเก็บข้อมูลการติดเชื้อเริ่มต้น กลุ่มตัวอย่างกับกลุ่มควบคุมด้วย Bonferroni post-
ก่อนได้รับสารทดสอบ จากนั้นทาสารทดสอบตามการ hoc test โดยกำาหนดระดับค่าความเชื่อมั่นที่ 95%
แบ่งกลุ่ม โดยในหนูตะเภาแต่ละตัวจะทาสารทดสอบ 2.7 การทดสอบความปลอดภัยของเจลสารสกัด
ตำาแหน่งละ 0.1 มิลลิลิตร ทั้ง 4 ตำาแหน่ง วันละ 1 ครั้ง รากทองพันชั่ง
เป็นเวลา 14 วัน หลังครบกำาหนด นำาหนูตะเภาทุกตัว 1) การทดสอบการระคายเคืองในสัตว์
มาทำาการเก็บเส้นขนทั้ง 4 ตำาแหน่ง โดยในแต่ละ ทดลอง (animal irritation test)
ตำาแหน่งจะเก็บเส้นขนจำานวน 10 เส้น นำาไปเพาะเลี้ยง การทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนัง
เพื่อดูการเจริญของเชื้อราบน PDA เป็นเวลาอย่างน้อย ของเจลสารสกัดรากทองพันชั่งดำาเนินการตามข้อ
[22]
7-14 วัน เพื่อเก็บข้อมูลการติดเชื้อหลังได้รับสาร กำาหนด ISO 10993-10: 2010 ได้รับอนุมัติให้ดำาเนิน
ทดสอบ และการุณยฆาตหนูตะเภาด้วยก๊าซ การวิจัยในสัตว์จากคณะกรรมการดูแลการเลี้ยงและ
คาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างการทดสอบบันทึกข้อมูล ใช้สัตว์ทดลองของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ของสัตว์ทดลอง ได้แก่ นำ้าหนัก อัตราการกินนำ้าและ [หมายเลขควบคุมโครงการ 62-015 (61-007)] โดยใช้
อาหาร สุขภาพของสัตว์ทดลอง อาการป่วยและตายใน กระต่ายสายพันธุ์ albino จำานวน 3 ตัว แยกเลี้ยง
ระหว่างวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง สังเกตรอยโรคที่ แต่ละตัวในกรงขนาดมาตรฐานเพื่อปรับสภาพเป็น
ผิวหนัง (skin lesion) ทั้ง 4 ตำาแหน่งในแต่ละตัว โดย เวลา 1 สัปดาห์ก่อนการทดสอบ การดูแลสัตว์ทดลอง