Page 214 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 214

444 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           เป็นไปตามมาตรการเลี้ยงสัตว์สากล และให้สัตว์กิน  ไปตามมาตรการเลี้ยงสัตว์สากล และให้สัตว์กินอาหาร
           อาหารและนำ้าอย่างไม่จำากัดปริมาณ ก่อนเริ่มทดสอบ   และนำ้าอย่างไม่จำากัดปริมาณ ก่อนเริ่มทดสอบ 24

           24 ชั่วโมง โกนขนกระต่ายบริเวณหลังด้วยเครื่องโกน  ชั่วโมง โกนขนหนูตะเภาบริเวณข้างลำาตัวด้านซ้าย
           ไฟฟ้า ใช้ตัวอย่างทดสอบเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง   ขนาด 4 เซนติเมตร x 4 เซนติเมตร ด้วยเครื่องโกน
           0.5 กรัม แปะลงบนตำาแหน่งที่ทดสอบด้วยผ้าก๊อซ  ไฟฟ้า ทดสอบในขั้นตอนการเหนี่ยวนำา (induction

           ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 2.5 เซนติเมตร ตัวละ 2   phase) ใช้ผ้าก๊อซขนาด 2.5 เซนติเมตร x 2.5
           ตำาแหน่ง และใช้นำ้ากลั่นปราศจากเชื้อปริมาตร 0.5   เซนติเมตรซับตัวอย่างทดสอบเจลสารสกัดรากทอง
           มิลลิลิตร เป็นตัวอย่างควบคุม จากนั้นปิดทับด้วยเทป  พันชั่งให้ชุ่ม แล้วแปะลงบนตำาแหน่งที่ทดสอบ สำาหรับ

           พันแผล เป็นระยะเวลา 4 ชั่วโมง แล้วจึงเอาแผ่น  กลุ่มควบคุมใช้นำ้ากลั่นปราศจากเชื้อเป็นตัวอย่าง
           ทดสอบออก ทำาความสะอาดบริเวณทดสอบด้วยนำ้า    ทดสอบ จากนั้นปิดทับด้วยเทปพันแผล เป็นระยะเวลา
           อุ่น และอ่านผลทดสอบชั่วโมงที่ 1, 24, 48 และ 72   6 ชั่วโมง แล้วจึงเอาแผ่นทดสอบออกและทำาความ

           หลังเอาแผ่นทดสอบออก โดยให้คะแนนระดับความ    สะอาดบริเวณทดสอบด้วยนำ้าอุ่น ทำาการทดสอบตาม
           แดง (erythema) และบวม (oedema) ระหว่าง 0 ถึง   วิธีการข้างต้นสัปดาห์ละ 3 วัน ติดต่อกันเป็นระยะเวลา

           4 คำานวณคะแนนการระคายเคืองเบื้องต้น (Primary   3 สัปดาห์ หลังวันสุดท้ายของการเอาแผ่นทดสอบออก
           Irritation Score, PIS) จากคะแนนเฉพาะที่เวลา 24   พักสัตว์ทดลอง 14 วัน จากนั้นทดสอบในขั้นตอน
           ชั่วโมง, 48 ชั่งโมง และ 72 ชั่วโมง แล้วนำา PIS มา  การกระตุ้น (challenge phase) โดยทำาการทดสอบ

           คำานวณดัชนีการระคายเคืองเบื้องต้น (Primary Irri-  เช่นเดียวกับขั้นตอนการเหนี่ยวนำา 1 ครั้ง บริเวณด้าน
           tation Index, PII) เพื่อใช้แปลผลการทดสอบการ  ข้างลำาตัวด้านขวา และอ่านผลทดสอบชั่วโมงที่ 24 และ

           ระคายเคือง                                  48 หลังเอาแผ่นทดสอบออก โดยให้คะแนนตาม
                  2)  การทดสอบการแพ้ทางผิวหนังวิธี     Magnusson and Kligman scale [23]
           closed patch test (Buehler test)

                    การทดสอบการแพ้ทางผิวหนัง (de-                   ผลก�รศึกษ�
           layed-type hypersensitivity) ของเจลสารสกัดราก
           ทองพันชั่งดำาเนินการตามข้อกำาหนด ISO 10993-10:   1. ก�รเตรียมส�รสกัดร�กทองพันชั่ง

               [22]
           2010  ได้รับอนุมัติให้ดำาเนินการวิจัยในสัตว์จาก     สารสกัดรากทองพันชั่งที่เตรียมตามวิธีการข้าง
           คณะกรรมการดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์ทดลองของ  ต้นจำานวน 2 ครั้งจากผงแห้งของรากทองพันชั่งนำ้า
           กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ [หมายเลขควบคุม       หนัก 240 กรัมและ 390 กรัม พบว่าได้สารสกัดราก

           โครงการ 63-029 (62-013)] โดยใช้หนูตะเภาสายพันธุ์   ทองพันชั่งเมื่อคำานวณเทียบกับนำ้าหนักแห้งของราก
           Dunkin Hartley จำานวน 17 ตัว แบ่งเป็นกลุ่มทดสอบ   ทองพันชั่ง (% yields, w/w) คิดเป็น 3.08 และ 3.04%

           12 ตัว และกลุ่มควบคุม 5 ตัว เลี้ยงแยกเพศกรงละ  ตามลำาดับ เมื่อนำาสารสกัดรากทองพันชั่งจากแต่ละ
           ไม่เกิน 5 ตัว ในกรงขนาดมาตรฐานเพื่อปรับสภาพเป็น  ครั้งของการสกัด มาวิเคราะห์ปริมาณไรนาแคนทิน ซี
           เวลา 5 วันก่อนการทดสอบ การดูแลสัตว์ทดลองเป็น  ในสารสกัดรากทองพันชั่งพบว่ามีสารไรนาแคนทิน ซี
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219