Page 221 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 221

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  451




            ตารางที่ 6  จำานวนเชื้อราที่พบจากเส้นขนบริเวณทดสอบในหนูตะเภา อัตราการติดเชื้อหลังสิ้นสุดการทดสอบ และ
                     ประสิทธิผลในการลดการติดเชื้อรา

                                      จำานวนเส้นขนที่พบเชื้อรา (จำานวน   อัตราการติดเชื้อรา   ประสิทธิผล
                       กลุ่ม          ขนที่พบเชื้อรา/จำานวนขนทั้งหมด)    ( % )         ในการลด
                                      ก่อนรับสาร     หลังรับสาร      หลังครบกำาหนด    การติดเชื้อรา
                                       ทดสอบ          ทดสอบ         การทดสอบ 14 วัน     ( % )
             negative control          0/240          0/240               0               0
             2% ketoconazole cream    94/240          4/240              4.26           84.96
             0.1% rhinacanthin C gel   96/240         11/240            11.46           59.55
             0.05% rhinacanthin C gel   82/240        23/240            28.05           0.99
             non-treated              60/240          17/240            28.33              -





            เชื้อรา (positive control) มีค่ามากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับ  และ Kligman scale  พบว่าตำารับดังกล่าวไม่ก่อให้
                                                                        [23]
            เชื้อราและไม่ได้รับยาต้านเชื้อรา (negative control)   เกิดการแพ้ในสัตว์ทดลองทุกตัวที่ทำาการศึกษา โดยมี
            อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.001) นอกจากนี้ พบ  sensitization rate คิดเป็นร้อยละ 0
            ว่าค่าเฉลี่ยของรอยโรคของผิวหนังในหนูกลุ่มที่ได้รับ

            เจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสาร             อภิปร�ยผล
            ไรนาแคนทิน ซี 0.1% มากกว่ากลุ่มหนูตะเภาที่ได้รับ     การนำาสมุนไพรมาใช้เพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์
            ยาต้านเชื้อรา ketoconazole cream อย่างมีนัยสำาคัญ  สมุนไพรให้มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีประสิทธิผล

            ทางสถิติ (p = 0.023)                        การรักษาตรงตามที่ระบุ จำาเป็นต้องมีการควบคุม
                                                        คุณภาพตั้งแต่วัตถุดิบ กระบวนการผลิตสารสกัด จน
            5. ก�รทดสอบคว�มปลอดภัยของเจลส�รสกัด         กระทั่งได้เป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อให้มั่นใจว่าทุก
            ร�กทองพันชั่งในสัตว์ทดลอง                   รุ่นการผลิตถูกต้อง มีความสมำ่าเสมอของตัวยาสำาคัญ

                 การทดสอบความปลอดภัยของเจลสารสกัด       และไม่มีสารอันตรายตกค้าง ซึ่งการควบคุมคุณภาพ

            รากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน   ของวัตถุดิบสมุนไพรที่นำามาใช้เป็นตัวยาสำาคัญ ถ้า
            ซี 0.1% ในสัตว์ทดลอง โดยทำาการทดสอบการระคาย  เป็นสมุนไพรตามข้อกำาหนดของตำารายาที่รัฐมนตรี
            เคืองทางผิวหนังพบว่าตำารับดังกล่าวไม่ทำาให้เกิด  ประกาศให้อ้างอิงข้อกำาหนดนั้น ๆ แต่ในกรณีเป็น

            ความระคายเคืองต่อผิวหนังกระต่าย โดยมีค่าดัชนี  วัตถุดิบสมุนไพรที่ไม่เป็นไปตามข้อกำาหนดของตำารายา
            การระคายเคืองเบื้องต้น (PII) คิดเป็น 0.3 และเมื่อ  ให้ใช้ข้อกำาหนดมาตรฐานที่จัดทำาขึ้นโดยผู้ผลิตได้
                                                                                              [26]
            นำาเจลสารสกัดรากทองพันชั่งไปทดสอบการแพ้ทาง  ซึ่งทองพันชั่งเป็นวัตถุดิบสมุนไพรที่ยังไม่มีข้อกำาหนด
            ผิวหนังวิธี closed patch test (Buehler test) โดยใช้  ของตำารายา ในการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบจึงเลือก
            หนูตะเภา และอ่านผลเปรียบเทียบกับ Magnusson   ควบคุมปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ซึ่งเป็นสารสำาคัญ
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226