Page 215 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 215

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  445




            ตารางที่ 2  นำ้าหนักและปริมาณสารไรนาแคนทิน ซี ในสารสกัดรากทองพันชั่ง

              สกัด   นำ้าหนักแห้ง   นำ้าหนักสารสกัดราก   %    ปริมาณสารไรนาแคนทิน      ค่าเฉลี่ย
             ครั้งที่   (กรัม)   ทองพันชั่ง (กรัม)   yields(w/w)   ซี (% w/w)         (% w/w)
              1        240           7.384            3.08           57.01          55.37  ± 2.10
                                                                     56.11
                                                                     53.01

              2        390           11.843           3.04           54.09          55.46  ± 1.36
                                                                     56.80
                                                                     55.49



            คิดเป็นร้อยละ 55.37 ± 2.10 และ 55.46 ± 1.36 โดย  สามารถกระจายบนผิวได้ดี และเมื่อพิจารณา pH ของ

            นำ้าหนัก (w/w) ของสารสกัดรากทองพันชั่ง (ตารางที่ 2)   ตำารับพบว่าเฉพาะตำารับที่ 1 และ 2 ซึ่งมีสารก่อเจลเป็น
            การตรวจวิเคราะห์โลหะหนักในสารสกัดรากทองพัน  Carbopol 940 และ Na CMC ตามลำาดับ เท่านั้นที่มี

            ชั่งด้วยวิธี ICP-MS พบว่าสารสกัดรากทองพันชั่งจาก  ค่า pH อยู่ในช่วงที่ต้องการ (ตารางที่ 3) อย่างไรก็ตาม
            ทั้งสองครั้งของการสกัดมีการปนเปื้อนโลหะหนัก เช่น   ความหนืดของทั้งสองตำารับยังไม่ตรงตามต้องการ จึง
            สารหนู (arsenic) แคดเมี่ยม (cadmium) ปรอท   ทดลองปรับปริมาณสารก่อเจลในตำารับ โดยใช้สารก่อ

            (mercury) และ ตะกั่ว (lead) อยู่ในปริมาณที่กำาหนด  เจล Carbopol 940 และ Na CMC ในปริมาณต่าง ๆ
            ตามเกณฑ์การยอมรับของ Thai Herbal Pharma-    เพื่อให้ได้ตำารับที่มีความหนืดลดลง พบว่าตำารับที่ใช้
                        [24]
            copoeia 2019  สารสกัดรากทองพันชั่งที่เตรียมได้  สารก่อเจลเป็น 0.3% Carbopol 940 และ 3.25% Na
            นี้จะนำาไปใช้สำาหรับพัฒนาตำารับเจลสารสกัดรากทอง  CMC ให้เจลพื้นที่มีลักษณะทางกายภาพและความ
            พันชั่ง                                     หนืดตามที่ต้องการ อย่างไรก็ตาม ค่า pH ของตำารับ
                                                        ที่เตรียมได้มีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 6-7
            2. ก�รพัฒน�ตำ�รับเจลส�รสกัดร�กทองพันชั่ง         เมื่อเติมสารสกัดรากทองพันชั่งปริมาณ 2%

                 การพัฒนาสูตรตำารับเจลพื้นและประเมิน    w/w ลงในตำารับ บรรจุตำารับลงในภาชนะขวดแก้วสี

            คุณลักษณะของตำารับที่เตรียมได้ เพื่อคัดเลือกชนิด  ชาที่ฝามีหลอดหยด และนำาไปศึกษาความคงตัวของ
            ของสารก่อเจลที่เหมาะสมสำาหรับนำาไปใช้พัฒนาตำารับ   ตำารับที่อุณหภูมิ 4, 25 และ 37 องศาเซลเซียส เป็น
            เจลให้มีลักษณะทางกายภาพ และคุณสมบัติที่ดี คือ   ระยะเวลา 3 เดือน พบว่าตำารับเจลสารสกัดรากทอง

            เจลเป็นเนื้อเดียวกัน แพร่กระจายบนผิวได้ดี และ  พันชั่งที่ใช้สารก่อเจลเป็น Carbopol 940 เมื่อเก็บที่
            มีค่า pH ตรงตามต้องการ โดยอยู่ในช่วง pH ของ  อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส มีลักษณะทางกายภาพ

            ผิวหนังคนปกติ คือ 5.4-5.9  พบว่าตำารับที่เตรียม  ของตำารับเปลี่ยนแปลงไป คือ สีของตำารับเปลี่ยนจาก
                                  [25]
            จากสารก่อเจล Carbopol 940, Na CMC และ Po-   ส้มเป็นเหลือง มีความหนืด และค่า pH ลดลง นอกจาก
            loxamer188 ได้เนื้อเจลลักษณะใส เป็นเนื้อเดียวกัน   นี้พบว่าลักษณะเนื้อเจลมีความขุ่นเพิ่มขึ้น ในขณะที่
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220