Page 220 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 220
450 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ภาพที่ 3 ผลยับยั้งการเจริญของเชื้อราก่อโรคกลุ่มเดอร์มาโตไฟต์บนอาหารแข็งที่มีเจลพื้นปริมาตร 400 ไมโครลิตร (A),
เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1% rhinacanthin C) ปริมาตร ดังนี้ 50 ไมโครลิตร (B), 100 ไมโครลิตร (C),
200 ไมโครลิตร (D), 400 ไมโครลิตร (E) และ ไม่มีสารทดสอบ (non-treated) (F)
มีอัตราการติดเชื้อ 28.33% (ตารางที่ 6) ประสิทธิผลในการลดจำานวนเชื้อราได้ (ลดจำานวนเชื้อ
การประเมินประสิทธิผลของการลดการติดเชื้อ ราได้ 0.99%) (ตารางที่ 6)
ราเมื่อใช้สารทดสอบเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับ การประเมินผลรอยโรคที่ผิวหนังโดยการให้
สารทดสอบ (non-treated) โดยใช้สูตร 100 – (T x คะแนนวิธีการของผิวหนังตามเกณฑ์ที่กำาหนด ในช่วง
( 100/N )) เมื่อ T คือ อัตราการติดเชื้อราของกลุ่ม ระยะเวลาต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นเหนี่ยวนำาการติดเชื้อรา
ทดสอบ และ N คือ อัตราการติดเชื้อราของกลุ่มที่ จนกระทั่งได้รับสารทดสอบเป็นระยะเวลา 14 วัน พบ
ได้รับเชื้อราแต่ไม่ได้รับสารทดสอบ พบว่ายาต้านเชื้อ ว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติของค่า
รา ketoconazole cream มีประสิทธิผลลดจำานวน คะแนนเฉลี่ยของรอยโรคที่เกิดขึ้นจากการทดสอบ
เชื้อราได้ 84.96% และเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง โดยพบว่าค่าเฉลี่ยของรอยโรคของผิวหนังในกลุ่มของ
ที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% มี หนูตะเภาที่ได้รับยาต้านเชื้อรา ketoconazole cream
ประสิทธิผลลดจำานวนเชื้อราได้ 59.55% เมื่อคิดเทียบ กลุ่มที่ได้รับเจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้ม
จากเปอร์เซ็นต์ของกลุ่มที่ไม่ได้รับสารทดสอบ (non- ข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% กลุ่มที่ได้รับเจลสาร
treated) ส่วนเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง ที่มีความ สกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคน-
เข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.05% พบว่าไม่มี ทิน ซี 0.05% และกลุ่มที่ได้รับเชื้อราแต่ไม่ได้รับยาต้าน