Page 203 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 203
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 433
้
้
ลบนำาหนักโมเลกุลของธาตุโซเดียมออกจะได้นำาหนัก สอบการปนปลอมของสมุนไพรได้ ในประเทศไทยยัง
โมเลกุลของสารที่แยกได้ ประมาณ 270 ซึ่งสอดคล้อง ไม่มีวิธีมาตรฐานสำาหรับการควบคุมคุณภาพของ
กับสูตรโมเลกุล จากนั้นนำาไปเปรียบเทียบกับข้อมูล สมุนไพรกระชาย การศึกษานี้จึงเป็นรายงานฉบับแรก
[12]
สเปกตรัมของสารที่เคยมีรายงานมาก่อน ดังนั้นใน ที่แสดงถึงวิธีการตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีของกระชาย
การศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่า สารบริสุทธิ์ที่แยกได้ ด้วยวิธีรงคเลขผิวบางโดยมีสารเทียบ คือ พิโนสโตรบิน
จากกระชาย คือ สารพิโนสโตรบิน วิธีที่พัฒนาขึ้นใช้นำ้ายา natural products/poly-
นอกจากนี้ยังพบว่า สารพิโนสโตรบินที่แยกได้ ethylene glycol (NP/PEG หรือ natural product
มีลักษณะเป็นผงสีขาวนวล ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบความ reagent) สำาหรับการตรวจวัดซึ่งเป็นนำ้ายาเฉพาะ
คงตัว (stability) กับสารพิโนสโตรบินจากบริษัทผู้ สำาหรับการตรวจวัดสารกลุ่มเฟลโวนอยด์ ซึ่งเป็นองค์
ผลิตมีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่ก็พบว่า ประกอบทางเคมีที่พบมากในกระชาย นอกจากนี้
พิโนสโตรบินอาจตกผลึกได้ผลึกที่มีลักษณะเป็นแผ่น พิโสโตรบินที่แยกได้สามารถนำาไปใช้เป็นสารมาตรฐาน
บางใส ซึ่งจากการแยกสารนี้ซำ้าจากตัวอย่างกระชาย สำาหรับการควบคุมคุณภาพสมุนไพรชนิดอื่นที่มี
หลายตัวอย่าง พบลักษณะการตกผลึกดังกล่าวเพียง พิโนสโตรบินเป็นองค์ประกอบทางเคมีเช่นกัน
ครั้งเดียว ซึ่งสารพิโนสโตรบินในลักษณะแผ่นบางใส
เมื่อเตรียมเป็นสารละลายในเมทานอลจะมีการ ข้อสรุป
เปลี่ยนแปลงกายภาพภายในระยะเวลา 2 วัน โดยสาร สารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากกระชายเป็นสาร
สะลายจะขุ่นเมื่อตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง กล่าวคือ ทุติยภูมิในกลุ่มเฟลวาโนน (flavanone) มีชื่อว่า สาร
พิโนสโตรบินที่พบจากการศึกษานี้ มี 2 ลักษณะ (form) พิโนสโตรบิน (pinostrobin) มีสูตรโมเลกุล C H O
16 14 4
คือ ลักษณะที่เป็นผงละเอียดสีขาวนวล ซึ่งจะมีความ มีนำ้าหนักโมเลกุล เท่ากับ 270 โดยสารที่แยกได้นี้ มี
คงตัวทางกายภาพดีกว่าพิโนสโตรบินที่มีลักษณะเป็น ความบริสุทธิ์ร้อยละ 97.06 และร้อยละของผลผลิต
แผ่นบางใส ซึ่งทั้ง 2 ลักษณะได้พิสูจน์ว่าเป็นสาร 0.86 ซึ่งในการศึกษานี้ได้พัฒนาวิธีตรวจเอกลักษณ์
เดียวกันมีนำ้าหนักโมเลกุลเท่ากัน เมื่อวิเคราะห์ด้วย ทางเคมีของกระชายด้วยวิธีรงคเลขผิวบาง โดย silica
UPLC ในสภาวะเดียวกันจะปรากฏพีคที่ retention gel 60 เป็นวัฏภาคคงที่ ส่วนผสมของไดคลอโรมีเทน
time เดียวกัน พิจารณาจาก 3D-spectrum มีลักษณะ และเมทานอล (อัตราส่วน 70:1) เป็นวัฏภาคเคลื่อนที่
เหมือนกัน และเมื่อตรวจสอบด้วยวิธีรงคเลขผิวบาง ตรวจวัดด้วยการทำาปฏิกิริยากับนำ้ายา NP/PEG และ
ก็ให้ค่า R เท่ากัน สังเกตผลภายใต้แสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น
f
การศึกษานี้ยังได้พัฒนาต่อยอดโดยการนำา 366 นาโนเมตร จะพบจุดสีของพิโนสโตรบินที่ค่า R f
พิโนสโตรบินที่แยกได้ไปใช้ในการตรวจเอกลักษณ์ เท่ากับ 0.95 วิธีนี้สามารถนำามาใช้ในการวิเคราะห์เชิง
ทางเคมีของกระชาย ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ คุณภาพสมุนไพรชนิดนี้ต่อไปได้
ที่จะบอกว่ากระชายที่จะนำามาเป็นวัตถุดิบสมุนไพรที่
จะนำาไปผลิตยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพนั้นเป็น กิตติกรรมประก�ศ
สมุนไพรที่มีคุณภาพหรือไม่ รวมถึงยังเป็นการตรวจ ขอขอบคุณกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์