Page 200 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 200
430 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
+
เครื่อง HPLC-QTOF พบว่า มีค่า (M+Na) เท่ากับ โครมาโทแกรมที่ได้ พบว่า มีค่าเท่ากับร้อยละ 97.06
293.0847 และ (M+H) เท่ากับ 271.1003 สารดัง แสดงว่า มีเนื้อของสารพิโนสโตรบินอยู่ร้อยละ 97.06
+
้
กล่าวจึงมีนำาหนักโมเลกุล เท่ากับ 270 เป็นการยืนยัน และจาก 3D-spectrum ไม่พบการปนของสารอื่นใน
สูตรโครงสร้างทางเคมีของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จาก ระบบโคมาโทกราฟีดังกล่าว
กระชาย (ภาพที่ 4) ความคงตัวของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้
เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลสเปกตรัม NMR ของ เมื่อศึกษาความคงตัวของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้
[12]
สารบริสุทธิ์ที่แยกได้กับสารที่เคยมีรายงานมาก่อน ด้วยระบบโครมาโทกราฟีของ UPLC โดยเปรียบเทียบ
จึงสรุปได้ว่า สารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากกระชายมีชื่อว่า ความคงตัวของสารละลายพิโนสโตรบินในเมทานอล
พิโนสโตรบิน (ตารางที่ 1) ระหว่างพิโนสโตรบินที่แยกได้จากกระชายและ
ความบริสุทธิ์ของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้ พิโนสโตรบินจากบริษัท Sigma พบว่า สารจากทั้ง 2
เมื่อศึกษาความบริสุทธิ์ของพิโนสโตรบินที่ แหล่ง ไม่มีความแตกต่างกัน โดยพบว่าสารละลาย
แยกจากกระชาย โดยการวิเคราะห์ด้วยวิธี UPLC พิโนสโตรบินในเมทานอลมีความคงตัวที่อุณหภูมิห้อง
และพิจารณาจากค่าร้อยละของพื้นที่ใต้พีคของ เป็นเวลาอย่างน้อย 3 วัน
2. ก�รตรวจเอกลักษณ์ท�งเคมีของกระช�ย
สกัดผงตัวอย่างกระชาย นำ้าหนัก 1 กรัม ใน
เมทานอล ปริมาตร 10 มิลลิลิตร โดยวิธีรีฟลักซ์เป็น
เวลา 5 นาที กรอง นำาสารละลายที่ได้มาวิเคราะห์ด้วย
วิธีรงคเลขผิวบางและพิโนสโตรบินเป็นสารเทียบ โดย
ใช้ silica gel 60 เป็นวัฏภาคคงที่ ส่วนผสมของ
ภาพที่ 3 โครงสร้างทางเคมีของสารพิโนสโตรบิน (C H O ) ไดคลอโรมีเทนและเมทานอล (อัตราส่วน 70:1) เป็น
16 14 4
ที่แยกได้จากกระชาย วัฏภาคเคลื่อนที่ พ่นด้วยนำ้ายา NP/PEG แล้วสังเกต
ภาพที่ 4 Mass spectrum ของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากกระชาย