Page 207 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 207
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 437
ตามตำารายาไทยทองพันชั่งใช้สำาหรับรักษาโรคผิวหนัง albicans และ C. tropicalis ซึ่งฤทธิ์ต้านเชื้อราดัง
กลาก เกลื้อน และผื่นคัน โดยใช้ใบสดและราก ตำา กล่าวนี้สอดคล้องกับสรรพคุณของทองพันชั่งในการ
ให้ละเอียดแช่ในเหล้าโรง แล้วนำาตัวยาที่ได้มาใช้ทา รักษาโรคผิวหนัง กลาก และเกลื้อน ตามตำาราแพทย์
บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง จนกว่าจะหาย [11-12] แผนโบราณของไทย [11-12]
ซึ่งจะเห็นได้ว่าการนำาสมุนไพรนี้มาใช้รักษาโรคตาม ปัจจุบันมีการนำาทองพันชั่งมาทำาเป็นยาในรูปแบบ
วิธีการดั้งเดิม ไม่สะดวกต่อการนำาไปใช้จริงในชีวิต “ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง’’ ซึ่งยานี้ได้บรรจุอยู่ในบัญชี
ประจำาวัน ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยมี
สารสกัดทองพันชั่งมีรายงานฤทธิ์ต้านเชื้อรา ข้อบ่งใช้เป็นยาทาแก้กลาก เกลื้อน โรคผิวหนังที่
้
ต่อเชื้อจุลชีพหลากหลายชนิด ได้แก่ Trichophy- เกิดจากเชื้อรา และนำากัดเท้า อย่างไรก็ตาม ตำารับ
ton rubrum, Trichophyton mentagrophytes, ยาดังกล่าวไม่มีการกำาหนดปริมาณสารสำาคัญใน
Microsporum canis, Microsporum gypseum, การออกฤทธิ์ ระบุเพียงมีตัวยาสำาคัญเป็นสารสกัด
Epidermophyton floccosum, Aspergillus niger, เอทิลแอลกอฮอล์ (70%) ของใบทองพันชั่งสด ร้อยละ
้
Penicillium chrysogenum, Candida albicans, 10 โดยนำาหนักต่อปริมาตร (w/v) ซึ่งการไม่กำาหนด
[16]
Candida tropicalis, Malassezia furfur และ ปริมาณสารสำาคัญอาจทำาให้การผลิตยาแต่ละครั้งมี
Malassezia globosa [5, 13-15] โดยพบว่าสารสกัด คุณภาพไม่คงที่ และมีผลต่อประสิทธิผลของยาในการ
ใบทองพันชั่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา รักษาโรค นอกจากนี้ยาในรูปแบบทิงเจอร์จะมีปริมาณ
(fungistatic activity) กลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ ได้แก่ แอลกอฮอล์ในตำารับสูง จึงมักก่อให้เกิดการระคาย
T. rubrum, T. mentagrophytes, M. canis และ เคืองในบริเวณเนื้อเยื่ออ่อน ผิวหนังที่มีบาดแผลหรือ
่
M. gypseum ที่ความเข้มข้นตำากว่าค่าความเข้มข้น มีแผลเปิด และการใช้สารสกัดจากใบทองพันชั่งสด
่
ตำาสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (minimum ทำาให้มีสารสีเขียวของคลอโรฟิลล์ปนอยู่ในตำารับ ซึ่ง
inhibitory concentration, MIC) และมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ สารสีดังกล่าวนี้เปื้อนเสื้อผ้าได้
รา (fungicidal activity) ที่ความเข้มข้นของสารสกัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
สูงกว่าค่า MIC โดยสารสกัดใบทองพันชั่งมีผลต่อผนัง สมุนไพรต้านเชื้อราจากทองพันชั่ง โดยเลือกใช้สาร
เซลล์ของเชื้อเดอร์มาโตไฟต์ ทำาให้เกิดความผิดปกติ สกัดจากส่วนรากทองพันชั่งซึ่งมีปริมาณสารสำาคัญ
ของเยื่อหุ้มเซลล์ รูปร่างของเซลล์ผิดรูป แบน และยุบ ไรนาแคนทิน ซี สูงกว่าส่วนอื่นของพืชมาเป็นส่วน
[13]
ตัวลง ส่งผลให้เกิดเซลล์ตาย จากข้อมูลดังกล่าวข้าง ประกอบในตำารับ พัฒนาตำารับให้อยู่ในรูปแบบเจล
[5]
ต้นจะเห็นได้ว่าสารสกัดทองพันชั่งมีฤทธิ์ต้านเชื้อรา ที่มีปริมาณสารสำาคัญเหมาะสม มีประสิทธิภาพใน
กลุ่มเดอร์มาโตไฟต์ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคกลาก และต้าน การต้านเชื้อรา ไม่ทำาให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง
เชื้อ Malassezia sp. ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคเกลื้อน รวม และไม่ก่อให้เกิดการแพ้ และตำารับผลิตภัณฑ์เจลสาร
ถึงมีฤทธิ์ต้านเชื้อราที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อ สกัดรากทองพันชั่งที่ได้มีปริมาณสารสำาคัญกำาหนด
ราที่ผิวหนัง (cutaneous fungal infections) ชนิด ชัดเจน มีปริมาณแอลกอฮอล์ในตำารับลดลง และไม่มี
อื่นได้ด้วย เช่น A. niger, P. chrysogenum, C. สารสีเขียวของคลอโรฟิลล์ปนอยู่ในตำารับ