Page 121 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 121
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 351
4. ผลข้�งเคียง/อ�ก�รที่พบระหว่�งก�รรักษ�: ซึ่งสอดคล้องกับหลายการศึกษา ที่กล่าวถึงเรื่อง
[5-7]
ในครั้งแรก (วันที่ 0) ที่มาพบแพทย์ กลุ่มทดลอง สาเหตุของแผลร้อนในที่ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่า
และกลุ่มควบคุม ส่วนใหญ่มีอาการปวดแสบปวดร้อน อาจมีปัจจัยเสี่ยงจากพันธุกรรม ความเครียด ความ
ไม่สุขสบาย ร้อยละ 54.0 และ 58.0 ตามลำาดับ รองลง กังวล การกัดโดนเนื้อเยื่อในช่องปาก แพ้สารเคมีใน
มาคือการกินอาหารไม่ได้ ปวดแสบ กินอาหารลำาบาก อาหาร แพ้สารบางชนิดในยาสีฟัน แพ้อาหารบางชนิด
แสบร้อน ร้อยละ 14.0 และ 16.0 ตามลำาดับ การขาดวิตามิน และเกลือแร่บางชนิด เช่น วิตามินบี
ครั้งที่ 2 (วันที่ 2) พบว่าทั้งสองกลุ่ม มีอาการแสบ เหล็ก และสังกะสี หรืออาจสัมพันธ์กับความผิดปกติ
แผลน้อยลง ร้อยละ 50.0 และ 44.0 ตามลำาดับ รองลงมา ในระบบภูมิคุ้มกัน ต้านทานโรค บางครั้งอาจสัมพันธ์
คือผู้ป่วยหายแล้วไม่มีอาการ ร้อยละ 34.0 และร้อย กับฮอร์โมนเพศ เนื่องจากบางรายงานพบแผลร้อน
ละ 4.0 ตามลำาดับ ผู้ป่วยแผลสีแดงลดลง แสบลดลง ในได้บ่อยกว่าในเพศหญิง พบได้บ่อยขึ้นในโรคทาง
ร้อยละ 4.0 และร้อยละ 6.0 ตามลำาดับ และกลุ่ม พันธุกรรมบางชนิด เช่น โรคลำาไส้อักเสบเรื้อรัง โรค
ทดลองพบว่ามีอาการท้องอืด ร้อยละ 2.0 แสบร้อน หลอดเลือดอักเสบ ที่เรียกว่าโรคเบเซ็ท (Behcet’s
แสบแผล หยุดใช้ยา ร้อยละ 2.0 กลุ่มควบคุมพบว่า disease)
ทายาไม่ติดแผล ทายายาก ร้อยละ 12.0 ปวดแสบร้อน จำานวนแผลและขนาดของแผลในกลุ่มทดลอง
ร้อยละ 12.0 แสบร้อนลิ้น ร้อยละ 6.0 และกลุ่มควบคุม ส่วนใหญ่มี 1 แผลซึ่งผลการศึกษา
ครั้งที่ 3 (วันที่ 6) พบว่า กลุ่มทดลองไม่มีอาการและ คล้ายกับการศึกษาของสรสัณห์, เปี่ยมกมล และ
ผลข้างเคียงเนื่องจากแผลหายทุกราย กลุ่มควบคุม สินีภัทร์ [4]
พบว่า ผู้ที่แผลหายแล้วมีร้อยละ 74.0 ทายาไม่ติด ความกว้างของแผล พบว่า ในวันแรกที่มาพบ
ทายาลำาบาก ร้อยละ 20.0 ยังแสบแผล ร้อยละ 6.0 แพทย์มีความกว้างของแผลบริเวณที่กว้างที่สุด เฉลี่ย
ตั้งแต่ 0.8-2.98 เซนติเมตร โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย
อภิปร�ยผล ความกว้างของแผลมากกว่ากลุ่มควบคุม ซึ่งเป็นไปได้
ข้อมูลทั่วไปกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมส่วน ว่าผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มควบคุม ส่วนใหญ่เป็นแผลเปื่อย
ใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 66.0 และ 68.0 ตามลำาดับ ไมเนอร์ (minor ulcer) ซึ่งเป็นแผลเปื่อยที่พบได้บ่อย
อาการสำาคัญที่มา พบแผลที่กระพุ้งแก้ม แสบร้อน ที่สุด ประมาณ 80% ส่วนกลุ่มทดลองมีทั้งที่เป็นแผล
กระพุ้งแก้ม มีแผลบริเวณกระพุ้งแก้ม และอาการแสบ ไมเนอร์และแผลเปื่อยเมเจอร์ (major ulcer) ซึ่งเป็น
ร้อนที่ริมฝีปากบน กลุ่มอาการปวดแสบร้อน แผลที่ลิ้น แผลร้อนในที่พบได้ประมาณ 10-15% ของแผลร้อน
แผลที่ขอบลิ้น แผลที่ลิ้นและมีฝ้าขาว เป็นต้น ซึ่งคล้าย ในทั้งหมด [8]
กับการศึกษาของสรสัณห์, เปี่ยมกมลและสินีภัทร์ ในปี วิธีการรักษา กลุ่มทดลองรักษาด้วยยาผง
2553 ที่ทำาการสำารวจความชุกของแผลแอพทัสในช่อง เขียวหอมทั้งชนิดทาและรับประทานร่วมกัน กลุ่ม
ปาก โดยการรายงานจากผู้ป่วยเด็กไทย อายุ 12-18 ปี ควบคุม ใช้ 0.1% triamcinolone oral paste และ
[4]
สาเหตุของแผลทั้งสองกลุ่มพบว่า จากความเครียด, หากกลุ่มควบคุมรู้สึกปวดแผลจะได้รับยาแก้ปวด
กินอาหารรสร้อนและมีบางส่วนที่ไม่ทราบไม่แน่ใจ พาราเซตามอลและทั้งสองกลุ่มได้รับคำาแนะนำาเรื่อง