Page 120 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 120

350 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตำาแหน่งที่ 1 ที่ความกว้างเฉลี่ย 0.24 มิลลิเมตร     ครั้งที่สาม พบว่า กลุ่มทดลองแผลหายทุกคน
                3.2 จำานวนของแผลร้อนในจากการประเมินผล  ส่วนกลุ่มควบคุม แผลหายร้อยละ 74.0 และเหลือ 1

           ในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และ ครั้งที่ 3 (ตารางที่ 2) พบว่า  แผลร้อยละ 26.0 โดยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี
                ในวันแรกที่มาพบแพทย์ กลุ่มทดลองและกลุ่ม  จำานวนแผลเฉลี่ย 0.0 และ 0.32 ± 0.47 ตามลำาดับ
           ควบคุม ส่วนใหญ่มีแผล 1 แผล คือร้อยละ 60.0 และ      3.3 ความสะดวกในการใช้ยาและความพึง

           66.0 ตามลำาดับ รองลงมามีแผล 2 แผล ร้อยละ 34.0   พอใจจากการประเมินผลในวันที่ 6 (ตารางที่ 3)
           และ 30.0 และแผล 3 แผลร้อยละ 6.0 และ 4.0 โดยมี     กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมให้คะแนนความ
           จำานวนแผลเฉลี่ย 1.46 ± 0.62 และ 1.32 ± 0.55 แผล   สะดวกในการใช้ยาเฉลี่ย 3.48 ± 0.79 และ 3.12 ±

           ตามลำาดับ                                   0.72 ตามลำาดับ และให้คะแนนความพึงพอใจต่อผล
                ในครั้งที่สอง เมื่อได้รับยาแล้ว 2 วัน พบว่า กลุ่ม  การรักษาเฉลี่ย 4.14 ± 0.61 และ 3.50 ± 0.71 ตาม
           ทดลองเริ่มมีการหายของแผลโดยผู้ที่มีแผล 1 แผล  ลำาดับ ซึ่งคะแนนความสะดวกและความพึงพอใจต่อ

           เหลือร้อยละ 46.0 ขณะที่ในกลุ่มควบคุมจำานวนผู้ที่  ผลรักษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <
           มีแผล 1 แผลไม่ลดลงเท่ากับร้อยละ 68.0 และผู้ที่  0.05)

           มีแผล 2 แผลในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมลดลง       คะแนนความพึงพอใจต่อภาพรวมของการ
           เหลือร้อยละ 24.0 และ 26.0 ตามลำาดับ โดยในครั้ง  รักษาเฉลี่ยของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่ต่าง
           ที่สองนี้ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผู้ที่แผลหาย  กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (4.32 ± 0.68 VS 4.24

           ร้อยละ 24.0 และ 6.0 และมีจำานวนแผลเฉลี่ย 1.04   ± 0.69) (p > 0.05)
           ± 0.77 และ 1.20 ± 0.53 แผล ตามลำาดับ




           ตารางที่ 3  คะแนนเฉลี่ยความสะดวกในการใช้ยา ความพึงพอใจต่อผลการรักษา ความพึงพอใจในภาพรวมการรักษา
                    ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจากการประเมินผลในวันที่ 6 หลังใช้ยา

                                       คะแนนเฉลี่ย (SD)
            การประเมิน                 กลุ่ม    กลุ่ม   ความ       95% CI      t    df  p-value
                                      ทดลอง    ควบคุม  แตกต่าง
                                                       ค่าเฉลี่ย

            ความสะดวกในการใช้ยา        3.48     3.12    0.36     0.06  0.66  2.38  98   < 0.05*
                                      (0.79)   (0.72)
            ความพึงพอใจในผลการรักษา    4.14     3.50    0.64     0.38  0.90  4.86  98   < 0.05*
                                      (0.61)   (0.71)

            ความพึงพอใจในภาพรวมการรักษา  4.32   4.24    0.08     0.37  0.90  0.58  98    ≥ 0.05
                                      (0.68)   (0.69)
           *แตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p < 0.05
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125