Page 118 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 118
348 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ตามลำาดับ อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 25-59 ปี ร้อยละ 3 เฉลี่ย 1.07 ± 0.61 และ 0.8 ± 0.57 มิลลิเมตร ตาม
55.1 และ 50.0 ตามลำาดับ โดยมีอายุเฉลี่ย 53.1 (SD. ลำาดับ ตำาแหน่งที่ 1, 2 และ 3 หมายถึงตำาแหน่งของ
16.2) และ 55.2 (SD. 17.0) ปี และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ แผลในช่องปากผู้ป่วย โดยให้ลำาดับตามขนาดที่กว้าง
้
ในพื้นที่อำาเภอนำาพอง ร้อยละ 98.0 และ 90.0 ตาม ที่สุดและรองลงไปเป็นลำาดับ ทั้งนี้ตำาแหน่งแผลของ
ลำาดับ สาเหตุของแผลพบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่ม ผู้ป่วยแต่ละรายจะถูกบันทึกให้ตรงกันในทุกครั้งที่
ควบคุมส่วนใหญ่มีแผลเนื่องจากเครียด รับประทาน วัดขนาดแผล
อาหารรสร้อน ร้อยละ 22.0 และ 24.0 ตามลำาดับ ที่
ไม่ทราบ ไม่แน่ใจ มีร้อยละ 58.0 และ 56.0 ตาม 3. ผลก�รรักษ�
ลำาดับสาเหตุอื่น ๆ มีร้อยละ 20.0 ทั้งกลุ่มทดลองและ การศึกษามีผู้ป่วยกลุ่มละ 50 ราย ติดตามได้
ควบคุม ครบทุกรายจนจบการศึกษา
3.1 เปรียบเทียบ คะแนนความเจ็บปวดจำานวน
2. ก�รประเมินก่อนก�รรักษ� ของแผล ขนาดของแผล วัดจากบริเวณที่กว้างที่สุด
ในวันแรกที่มาพบแพทย์ กลุ่มทดลองและกลุ่ม ตำาแหน่งที่ 1, 2, และ 3 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม
ควบคุมส่วนใหญ่มีแผล 1 แผล คือร้อยละ 60.0 และ ควบคุม (ตารางที่ 1)
66.0 ตามลำาดับ รองลงมามีแผล 2 แผล คือร้อยละ ค่าเฉลี่ยคะแนนความเจ็บปวดทั้ง 3 ครั้ง พบว่า
34.0 และ 30.0 โดยมีจำานวนแผลเฉลี่ย 1.46 ± 0.62 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยความเจ็บปวด
แผล และ 1.32 ± 0.55 แผล ตามลำาดับ ต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยครั้ง
ตำาแหน่งของแผลจากการประเมินกลุ่มทดลอง แรกกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 7.28 กลุ่มควบคุม
และกลุ่มควบคุม พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เฉลี่ย 6.58 ครั้งที่ 3 กลุ่มทดลอง มีคะแนนความเจ็บ
มีตำาแหน่งของแผลร้อนในที่ต่าง ๆ เป็นสัดส่วน ปวดเฉลี่ย 0.03 กลุ่มควบคุมเฉลี่ย 0.5
ใกล้เคียงกัน โดยพบว่า ที่บริเวณริมฝีปากล่าง เป็น จำานวนแผลเฉลี่ยของกลุ่มทดลองและกลุ่ม
ตำาแหน่งที่พบแผลร้อนในมากที่สุด คือร้อยละ 20.0 ควบคุมในครั้งแรกใกล้เคียงกันคือ 1.46 และ 1.32
และ 24.0 ตามลำาดับ รองลงมาเป็นที่ริมฝีปากบน ตามลำาดับ และเมื่อวัดครั้งที่ 3 พบว่า กลุ่มทดลอง
ร้อยละ 20.0 และ 18.0 ตามลำาดับ ที่กระพุ้งแก้ม แผลหายทุกราย ส่วนกลุ่มควบคุมเหลือแผลเฉลี่ย
ร้อยละ 18.0 และ 20.0 ตามลำาดับ นอกจากนี้ยังพบที่ 0.3 แผล
ริมฝีปากบน และกระพุ้งแก้ม กระพุ้งแก้มและปลาย ขนาดของแผล โดยดูจากความกว้างของแผล
ลิ้น เพดานปาก ลิ้น ใต้ลิ้น เหงือก เป็นต้น ตำาแหน่งที่ 1 ในครั้งแรกพบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่ม
ความกว้างของแผล: ในวันแรกที่มาพบแพทย์ ควบคุมเฉลี่ยกว้างเท่ากับ 2.68 และ 2.02 มิลลิเมตร
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความกว้างของแผล ตามลำาดับ ซึ่งต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <
บริเวณที่กว้างที่สุดในตำาแหน่งที่ 1 เฉลี่ย 2.68 ± 1.75 0.05) ความกว้างของแผลตำาแหน่งที่ 2 และ 3 มีค่า
และ 2.02 ± 1.1 มิลลิเมตร ตำาแหน่งที่ 2 เฉลี่ย 2.23 เฉลี่ยความกว้างใกล้เคียงกัน และในครั้งที่ 3 กลุ่ม
± 1.29) และ 2.01 ± 1.19 มิลลิเมตร และตำาแหน่งที่ ทดลองแผลหายทุกราย ส่วนกลุ่มควบคุมเหลือแผล