Page 122 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 122
352 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
การพักผ่อนให้เพียงพอ การศึกษาครั้งนี้ได้กำาหนด การศึกษาเปรียบเทียบการรักษาโรคแผลเปื่อยในช่อง
ให้กลุ่มควบคุมได้รับการรักษาตามแนวทางการรักษา ปาก โดยใช้สมุนไพรขมิ้นชันซึ่งมีฤทธิ์ต้านอักเสบผสม
[5]
แผลร้อนในที่สอดคล้องกับแนวทางของสุรเกียรติ ในออร่าเบส ซึ่งพบว่าอาการปวดแสบบริเวณแผลหาย
Altenburg A, Zouboulis CC (2008) Altenburg เร็วกว่าการใช้ออร่าเบสอย่างเดียว [12]
[9]
[11]
A, et al. (2007) และ FeliceF,et al. (2007) มี ในครั้งที่ 3 ของการประเมิน พบว่าทั้งกลุ่ม
[10]
แนวทางการรักษาแบบประคับประคองตามอาการคือ ทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนความเจ็บปวดต่าง
กินยาแก้ปวด แก้เจ็บแผล เช่น ยาพาราเซตามอลหรือ จากครั้งที่ 1 อย่างชัดเจนและคะแนนความเจ็บปวด
ยาต้านการอักเสบ/ยาแก้อักเสบ เช่น ยาสเตอรอยด์ ยา เฉลี่ยในกลุ่มทดลอง 0.03 กลุ่มควบคุม 0.5 ซึ่งต่าง
trichloroacetic acid เพื่อกระตุ้นให้แผลหายเร็วขึ้น กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) สอดคล้องกับ
ผลการรักษา การศึกษาครั้งนี้ได้ประเมินและ การหายของแผลและจำานวนแผลเฉลี่ยที่เหลืออยู่ คือ
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความเจ็บปวดจำานวน กลุ่มทดลองไม่มีแผล กลุ่มควบคุมมีจำานวนแผลเฉลี่ย
ของแผลขนาดของแผลที่วัดจากบริเวณที่กว้างที่สุด เหลือ 0.32 ตำาแหน่ง ซึ่งต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทาง
นอกจากนี้ได้สอบถามถึงผลข้างเคียง/อาการที่พบ สถิติ (p < 0.05) คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจต่อ
พบว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีคะแนนความ ภาพรวมการรักษาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
เจ็บปวดเฉลี่ย 7.28 และ 6.58 ตามลำาดับ ซึ่งต่างกัน เท่ากับ 4.32 และ 4.24 ตามลำาดับ ซึ่งไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) ซึ่งสอดคล้อง อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติและพบอาการข้างเคียงจาก
กับจำานวนแผลเฉลี่ยของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การใช้ยาในกลุ่มทดลอง คือ พบอาการท้องอืด 1 ราย
เท่ากับ 1.46 และ 1.32 ตามลำาดับ ซึ่งไม่แตกต่างกัน และแสบร้อนแผล หยุดใช้ยา 1 ราย (ร้อยละ 2)
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p > 0.05) ความกว้างของ ในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มทดลองรักษาด้วยยา
แผลเฉลี่ยทั้งสามตำาแหน่ง พบว่าความกว้างของแผล ผงเขียวหอมทั้งชนิดทาและรับประทานร่วมกัน กลุ่ม
ในกลุ่มทดลองมีความกว้างของแผลตำาแหน่งที่ 1, 2 ควบคุมใช้ 0.1% triamcinolone oral paste และ
และ 3 มากกว่ากลุ่มควบคุม หากกลุ่มควบคุมรู้สึกปวดแผลจะได้รับยาแก้ปวด
ในครั้งที่ 2 ของการประเมิน เนื่องจากตำารับ พาราเซตามอล ซึ่งกลุ่มควบคุมมีการใช้ยาหลายวิธี
ยาเขียวหอมเป็นยาสมุนไพรที่จัดอยู่ในกลุ่มยารส อาจทำาให้เห็นผลแตกต่างไม่ชัดเจนในเรื่องคะแนน
เย็นใช้ในการลดไฟธาตุเพื่อปรับสมดุลของร่างกาย ความเจ็บปวดของทั้งสองกลุ่มได้
[11]
เห็นได้ชัดว่าคะแนนความเจ็บปวดของกลุ่มทดลอง
่
ตำากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < ข้อสรุป
0.05) โดยคะแนนเฉลี่ยความเจ็บปวดของกลุ่มทดลอง ยาเขียวหอมชนิดผงมีความปลอดภัยและ
และกลุ่มควบคุมเท่ากับ 2.62 และ 3.38 ตามลำาดับ ประสิทธิผลในการรักษาแผลร้อนใน เมื่อเปรียบเทียบ
สอดคล้องกับจำานวนแผลและความกว้างของแผลที่ กับการรักษาทางแพทย์แผนปัจจุบัน อาการปวดแสบ
ลดลงในกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมทำาให้ผู้เข้า แผลและแผลหายได้เร็วกว่า ประเมินผลจากระดับความ
ร่วมวิจัยรู้สึกเจ็บปวดลดลงได้มากกว่าซึ่งผลคล้ายกับ เจ็บปวดและขนาดของแผลที่ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ