Page 116 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 116

346 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ระดับเพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นลด  ติดเชื้อเอชไอวี การได้รับบาดเจ็บในช่องปาก เช่น กัด
           ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อยาจากต่างประเทศ      ลิ้น กัดกระพุ้งแก้ม การกระแทก เป็นต้น พบในผู้หญิง

                ยาเขียวหอมได้รับการบรรจุในบัญชียาสามัญ  มากกว่าผู้ชาย ไม่มีอันตรายแต่จะทำาให้เจ็บปวดน่า
           ประจำาบ้านแผนโบราณตามประกาศกระทรวง          รำาคาญในระยะ 2-3 วันแรก และจะหายเองได้ภายใน
                            [1]
           สาธารณสุขในปี 2556  ในผงยา 90 กรัม ประกอบ   7-10 วัน [2]
           ด้วยใบพิมเสน ใบผักกระโฉม ใบหมากผู้หมากเมีย ใบ     โรงพยาบาลนำ้าพองได้นำายาจากสมุนไพรมาใช้
           สันพร้าหอม รากแฝกหอม หัวเปราะหอม แก่นจันทน์  กับผู้ป่วยในโรงพยาบาลจำานวน 30 รายการ ซึ่งยาเขียว
           ขาวหรือจันทน์ชะมด แก่นจันทน์แดง ว่านกีบแรด ว่าน  หอมเป็นตำารับหนึ่งที่สั่งนำาเข้าในบัญชียาโรงพยาบาล

           ร่อนทอง เนระพูสีพิษนาศน์ มหาสดำา ดอกพิกุล ดอก  จากแหล่งผลิตที่ผ่าน GMP ที่ผ่านมาการเข้าถึงบริการ
           บุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 5 กรัม   การแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มปวดกล้าม
                                       ้
           ใช้บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายนำา แก้พิษหัด พิษ  เนื้อเป็นส่วนมาก ในขณะที่แพทย์แผนปัจจุบันยังไม่
           อีสุกอีใส (บรรเทาอาการไข้จากหัดและอีสุกอีใส) ตำารับ  มั่นใจในการใช้ยาจากสมุนไพรโดยเฉพาะยารักษา
           ยาเขียวเป็นยาแผนไทยตามองค์ความรู้ของแพทย์   กลุ่มอาการไข้ จึงเกิดปัญหายาสมุนไพรคงค้างที่คลัง

           แผนไทยหรือหมอพื้นบ้านที่ใช้สืบต่อกันมาหลาย  ยาในโรงพยาบาล และจากการจ่ายยาเขียวหอมรักษา
           ทศวรรษและมีการผลิตจำาหน่ายทั่วไปตราบถึงปัจจุบัน  ผู้ป่วยแผลร้อนในที่มารับบริการในคลินิกแพทย์แผน
                แผลแอฟทัส (aphthous ulcer) หรือเรียกว่า   ไทยปี 2559 ประมาณ 10 ราย สุ่มประเมินผลด้วยวิธี

           “แผลร้อนใน’’ เป็นภาวะที่พบบ่อยในทุกวัย แผลร้อน  การสอบถาม 7 คน พบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น แผลร้อน
           ในหรือแผลแอฟทัสแบ่งเป็น 3 ประเภทหลักคือ     ในหายภายใน 1-3 วัน

                1. แผลพุพองเล็กน้อยซึ่งพบมากที่สุด โดยปกติ     จากสถิติข้อมูลผู้ป่วยแผลร้อนในที่เข้ามารับ
           จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 5 มิลลิเมตร   บริการในโรงพยาบาลนำ้าพอง ตั้งแต่เดือนธันวาคม
                2. แผลพุพองขนาดใหญ่พบได้น้อยกว่า มีขนาด   2559-พฤษภาคม 2560 มีจำานวนผู้ป่วยที่เป็นแผล

           5 มิลลิเมตร หรือใหญ่กว่ามักพบว่ามีตำาแหน่งเดียว   ร้อนในมารักษาที่งานผู้ป่วยนอกจำานวน 232 ราย/270
           หรืออาจพบ 2 ตำาแหน่ง บ้างมีอาการเจ็บปวดโดย  ครั้ง เฉลี่ย 45 ครั้ง/เดือน และเดือนธันวาคม 2560-
                                         ้
           เฉพาะเมื่อรับประทานอาหารหรือดื่มนำา แผลเฮอร์-  พฤษภาคม 2561 มีจำานวนผู้ป่วยที่เป็นแผลร้อนในมา
           เพททิฟอร์ม มีลักษณะรอยโรคที่ระบบหลายจุดรวม  รับการรักษาที่งานผู้ป่วยนอกจำานวน 264 ราย/292
           กันและมีขนาดใหญ่ มีรูปร่างผิดปกติดูคล้ายโรคเริม   ครั้ง เฉลี่ย 48.6 ครั้ง/เดือน
                                                                           [3]
           สาเหตุที่เป็นไปได้อาจเกิดจากการขาดสารอาหารบาง     งานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษาความปลอดภัยและ

           ชนิด เช่น วิตามินบี 12 โฟเลต หรือธาตุเหล็ก พัก  ประสิทธิผลในการรักษาแผลร้อนในของยาเขียว
           ผ่อนน้อย อดนอน นอนดึก ความเครียดทางร่างกาย  หอมชนิดผงโดยเปรียบเทียบผลการรักษากับกลุ่ม

           และจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ฮอร์โมน   ที่ได้รับ triamcinolone ซึ่งจะทำาให้มีข้อมูลเชิง
           เปลี่ยน ภาวะผิดปกติและโรคบางชนิดที่มีผลต่อระบบ  วิชาการสนับสนุนการใช้สมุนไพรในการรักษาผู้ป่วย
           ภูมิคุ้มกันของร่างกาย เช่น ลำาไส้อักเสบ เอสแอลอี การ  สร้างความเชื่อมั่นในการใช้ยาจากสมุนไพรสำาหรับ
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121