Page 117 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 117

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  347




            ประชาชนและบุคลากรทางการแพทย์ต่อไป           ร้อนในด้วยยาเขียวหอมชนิดผงทั้งชนิดทาและรับ
                                                        ประทานร่วมกัน โดยให้รับประทานในขนาด 1 กรัม
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                (ใช้ช้อนตวง) ละลายในนำ้าอุ่นประมาณ 15 มิลลิลิตร


                 การศึกษาความปลอดภัยและประสิทธิผลในการ  รับประทานวันละ 2 ครั้งก่อนอาหาร เช้าและเย็น ร่วม
            รักษาแผลร้อนในด้วยยาเขียวหอมชนิดผง เป็นการ  กับการป้ายยาขนาด 125 มิลลิกรัม/ครั้ง แตะทาให้ทั่ว

            วิจัยทางคลินิกแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental   บริเวณแผลร้อนในวันละ 4 ครั้ง (รวม 500 มิลลิกรัม/
            study) ที่มีการควบคุมปัจจัยและสภาวการณ์ที่ศึกษา   วัน) หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็นและก่อนนอน ส่วน
            โครงการนี้ได้รับอนุมัติให้ดำาเนินการวิจัยจากคณะ  กลุ่มควบคุมใช้ 0.1% triamcinolone oral paste

            กรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์  ป้ายยาบาง ๆ ที่แผลวันละ 3-4 ครั้ง หลังรับประทาน
            แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รหัสโครงการคือ    อาหารและก่อนนอน และหากมีความรู้สึกปวดแผล
            07/2562                                     สามารถทานยาแก้ปวดพาราเซตามอลเพิ่มได้โดยใน

                                                        วันแรก (วันที่ 0) ที่ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยจะได้
            1. วัสดุ                                    รับยากลับไปทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง


                 1.1 ประชากรในการศึกษาคือ ผู้ป่วยที่มี       2.2 เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลและวัดผล
            แผลร้อนในในช่องปากที่มารับบริการที่โรงพยาบาล  ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลการรักษาและประเมินระดับ
              ้
            นำาพองในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2560-เดือนมกราคม   ความเจ็บปวดด้วยตนเองของผู้ป่วย (pain score 10
            2563 กลุ่มตัวอย่างได้จากการคำานวณโดยประมาณ  ระดับ) 2) การวัดขนาดของแผลด้วย Vernier Caliper
            ค่าสัดส่วนเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (comparative   หน่วยเป็นมิลลิเมตร 3) แบบประเมินความพึงพอใจ

            study) ผู้เข้าร่วมวิจัยที่เข้าร่วมโครงการ จำานวน 100   และ 4) แบบประเมินผลข้างเคียงในการใช้ยา
            ราย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 50 ราย คือ กลุ่มทดลอง และ      2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบความถูก
            กลุ่มควบคุมซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับยา triamcinolone   ต้องครบถ้วนในแบบบันทึกข้อมูลและบันทึกข้อมูล

            โดยได้มีการอธิบายเกี่ยวกับโครงการวิจัยให้ผู้ป่วย   โดยใช้โปรแกรมสำาเร็จรูป ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์
            ทราบและหากผู้ป่วยยินดีเข้าร่วมโครงการ จึงให้   โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เช่น ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
            ลงชื่อในใบยินยอมก่อนเข้าร่วมโครงการ ทั้งสองกลุ่ม   มาตรฐาน วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบขนาดของแผล

            ได้รับการประเมินระดับความเจ็บปวดและขนาด     คะแนนความเจ็บปวดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม
            ของแผลก่อนและหลังการรักษาในวันแรก วันที่ 2 และ  ควบคุมโดยใช้สถิติ repeated measures ANOVA
            วันที่ 6 รวมทั้งมีการประเมินความพึงพอใจและผลข้าง

            เคียงจากการใช้ยาหลังการรักษา                              ผลก�รศึกษ�


            2. วิธีก�รศึกษ�                             1. ข้อมูลทั่วไป

                 2.1 วิธีการและยาที่ใช้ในการรักษาคือ ตำารับยา     ข้อมูลส่วนบุคคลพบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่ม
            เขียวหอมชนิดผง กลุ่มทดลองได้รับการรักษาแผล  ควบคุมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 66.0 และ 68.0
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122