Page 111 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 111

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  341




            จะนำายาศุขไสยาศน์มาใช้ทดแทนยานอนหลับแผน     โลหิตที่เพิ่มขึ้นนี้อาจไม่ใช่ผลจากสมุนไพรฤทธิ์ร้อนใน
            ปัจจุบันที่ต้องนำาเข้าจากต่างประเทศ โดยต้องเปรียบ  ตำารับ เนื่องจากมีหลักฐานทางวิชาการหลายฉบับพบว่า

            เทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยก่อน           สมุนไพรฤทธิ์ร้อนในตำารับทั้ง 3 ชนิด สามารถลดความ
                 เมื่อจำาแนกผลการรักษาด้วยยาศุขไสยาศน์ต่อ  ดันโลหิตได้ [22-25]  นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ป่วยมีโรคความ
            องค์ประกอบของคุณภาพการนอนหลับทั้ง 7 องค์    ดันโลหิตสูงเป็นโรคประจำาตัวถึงร้อยละ 44 จึงอาจมี

            ประกอบ พบว่า สามารถเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ    หลายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต
            เชิงอัตนัย ลดระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ   ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ อย่างไรก็ตาม ตำารับยาที่มีฤทธิ์ร้อนไม่
            เพิ่มระยะเวลาของการนอนหลับ ลดการรบกวนการ    เหมาะกับผู้ที่มีความร้อนในร่างกายสูง ซึ่งจำาเป็นต้องมี

            นอนหลับ ลดการใช้ยานอนหลับ และลดผลกระทบต่อ   การเก็บข้อมูลหรือศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต
            การทำากิจกรรมในเวลากลางวันได้ อย่างมีนัยสำาคัญ     ด้านผลของตำารับยาต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
            ทางสถิติ แต่ไม่มีผลต่อประสิทธิภาพของการนอนหลับ  ที่ประเมินด้วยแบบประเมิน EQ-5D-5L พบว่า คะแนน

            โดยปกติวิสัยอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ สอดคล้องกับ  อรรถประโยชน์ที่แสดงถึงความพอใจต่อสภาวะ
            หลักฐานทางวิชาการที่พบว่ากัญชาและสารแคนนาบิ-   สุขภาพของตนเอง มีคะแนนก่อนและหลังการรักษา

            นอยด์ที่พบในกัญชา ช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ   เท่ากับ 0.85 ± 0.19 และ 0.93 ± 0.08 และคะแนน
            ทำาให้เข้าสู่การนอนหลับ (sleep latency) เร็วขึ้น   สภาวะสุขภาพทางตรง มีคะแนนก่อนและหลังการ
            ระยะเวลาการนอนหลับ (total sleep time) เพิ่มมาก  รักษา เท่ากับร้อยละ 69.77 ± 11.38 และ 77.50 ±

            ขึ้น และลดการถูกรบกวนการนอนหลับและฝันร้าย [19]  3.53 ซึ่งเห็นได้ว่าผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีตั้งแต่ก่อน
                 นอกจากนี้ การรับประทานยาศุขไสยาศน์ยังมี  รักษา และหลังการรักษามีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็ก

            ผลอื่น ๆ ในผู้ป่วยร้อยละ 40 ได้แก่ ลดอาการปวด  น้อย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากจำานวนผู้ป่วยที่ติดตามได้
            เมื่อย เพิ่มความอยากอาหาร และทำาให้มีกำาลัง ซึ่ง  ลดน้อยลง จึงอาจมีผลต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
            สอดคล้องกับสรรพคุณของตำารับยาที่ระบุในคัมภีร์     อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาศุขไสยาศน์

            ธาตุพระนารายณ์ว่า “แก้สรรพโรคทั้งปวง โรคทั้ง  ที่พบบ่อย คือ ระคายเคืองทางเดินอาหาร น่าจะเกิด
                                                  [20]
                                                                                              [26]
            ปวงหายสิ้น มีกำาลังกินเข้าได้ นอนเป็นศุขนักแลฯ’’    จากรสประธานของตำารับยานั้นมีรสสุขุมออกร้อน
            อย่างไรก็ตาม ควรต้องมีการศึกษาผลการรักษาด้าน  และมีส่วนประกอบของสมุนไพรที่มีรสร้อนปริมาณ
            ต่าง ๆ ที่ชัดเจนต่อไป                       มากในตำารับ ได้แก่ ขิงแห้ง ที่มีสารสำาคัญ คือ จินเจอ-
                                                                       [24]
                 ประสิทธิผลในการบรรเทาอาการนอนไม่หลับ   รอลและโชกาออล  พริกไทยและดีปลี ที่มีสาร
            นอกเหนือจากเป็นผลจากกัญชาแล้ว อาจเป็นผลจาก  พิเพอรีน  ซึ่งสารเหล่านี้มีฤทธิ์ช่วยลดการอักเสบ
                                                               [22]
            สมุนไพรฤทธิ์ร้อนอื่น ๆ ในตำารับ เช่น พริกไทย ขิง  (anti-inflammatory) ลดอาการปวด (analgesic)
            แห้ง และดีปลี ที่อาจกระตุ้นการไหลเวียนเลือดลม  และเป็นสารต้านออกซิเดชั่น (antioxidant) [27-28]   ส่วน

            ในร่างกาย  และผลการศึกษานี้ยังพบว่า ผู้ป่วยมีค่า  อาการคอแห้ง หัวใจเต้นเร็ว และมึนงงศีรษะ น่าจะเป็น
                    [21]
            ความดันโลหิตค่าบนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยโดยไม่แตกต่าง  ผลจากกัญชาซึ่งมีรายงานก่อนหน้านี้ [29-30]  นอกจากนี้
            จากก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ความดัน  การรับประทานยารูปแบบผงทำาให้ยามีโอกาสสัมผัส
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116