Page 211 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 211
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 193
เครื่องมือที่ใช้ในก�รเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบ
ด้วย
1) แบบตรวจคัดกรองผู้ป่วย โดยแพทย์แผน
ปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ตามเกณฑ์การคัดเลือก
ผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วมโครงการ
2) แบบบันทึกประวัติผู้ป่วย ได้แก่ การ
ขั้นตอนที่ 7 นวดคลายตามแนวแขนด้านนอก ซักประวัติความเจ็บปวด ประวัติการเจ็บป่วยใน
ทั้ง 2 ข้าง โดยผู้นวดใช้อุ้งมือทั้ง 2 ข้าง ในลักษณะก�า ปัจจุบัน การรักษาในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยใน
แขนของผู้ป่วย กดเบา ๆ ที่แขนด้านนอก (สัญญาณ อดีต ประวัติการเจ็บป่วย ประวัติประจ�าเดือน (เฉพาะ
5-1) แขนด้านนอก (5-3 รอบ) (ใช้เวลา 5 นาที) หญิงวัยเจริญพันธุ์) การตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจ
สัญญาณชีพ
3) แบบสอบถาม แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ส่วนที่ 2 แบบประเมินอาการปวดนิ้วมือ
ก่อนและหลังการรักษาด้วยการนวดราชส�านักการ
ตรวจทางหัตถเวชและค�าถามเป็นมาตราส่วนประมาณ
ค่าโดยการเปรียบเทียบด้วยสายตาตามเชิงเส้นตรง มี
ขั้นตอนที่ 8 หลังจากนวดครบ 7 ขั้นตอน เพื่อ ลักษณะเป็นเส้นตรงยาว 10 เซนติเมตร แบ่งเป็น 10
ลดอาการบาดเจ็บจากการนวด ผู้นวดจะประคบด้วย ช่วง โดยมีเลขก�ากับไว้เริ่มจากเลข 0 จนถึง 10 โดย
ลูกประคบสมุนไพร (ที่นึ่งร้อน 45 องศาเซลเซียส) ที่ ต�าแหน่งปลายสุดด้านซ้ายมือ (0) จะตรงกับความ
บ่า แขน ละฝ่ามือ นิ้วมือ ประคบสมุนไพร 10 นาที รู้สึก ไม่เจ็บปวดใด ๆ และจะเพิ่มความรู้สึกปวดมาก
ขึ้น ๆ ไปทางขวามือ และต�าแหน่งปลายสุดทางขวามือ
(10) จะตรงกับความรู้สึกปวดนั้น ๆ มีมากที่สุด รวม
ทั้งการตรวจลักษณะฝ่ามือ ก�ามือ เหยียดนิ้ว หาจุดเจ็บ
เพื่อดูลักษณะความผิดปกติของข้อ
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10