Page 212 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 212
194 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ผลก�รศึกษ� นวดการเหยียดนิ้วได้ดีขึ้น ร้อยละ 100 ดังตารางที่ 3
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่มารับการรักษาส่วน ผลประเมินจุดกดเจ็บและความผิดปกติของข้อ
ใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 90 มีอายุอยู่ นิ้วที่ล็อก พบว่า ก่อนการนวด ร้อยละ 100 พบจุดกด
ระหว่าง 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 53.3 มีสถานภาพ เจ็บ หลังการนวดครั้งที่ 2 และ 3 จ�านวนผู้ป่วยที่พบ
สมรส (อยู่ด้วยกัน) คิดเป็นร้อยละ 70 มีระดับการ จุดกดเจ็บลดลง เหลือเพียง ร้อยละ 10 ดังตารางที่ 4
ศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 36.7 ผลการทดสอบก�าลังของนิ้วมือข้างที่ล็อก พบว่าก่อน
อาชีพรับข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 50 การนวดก�าลังของนิ้วมืออยู่ในระดับปานกลาง หลัง
โดยลักษณะของการประกอบอาชีพ ได้แก่ อาชีพครูใช้ จากการนวดครั้งที่ 2 และ 3 ก�าลังของนิ้วมือดีขึ้น ดัง
มือหยิบปากกา เขียนหนังสือ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ตารางที่ 5
ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องใช้นิ้วมือ เช่น ต้องใช้มือในการ
เขียน ในการพิมพ์คอมพิวเตอร์ รองลงมาคือ อาชีพ อภิปร�ยผล
แม่บ้านหรือพ่อบ้าน ซึ่งต้องใช้มือและนิ้วมือในการ ผลการประเมินอาการปวด ก่อนและหลังการ
ท�างานบ้าน เช่น ซักผ้า บิดผ้า กวาดบ้าน ท�าอาหาร รักษา พบว่า ค่าคะแนนความปวดก่อนการรักษาสูง
ตัดกิ่งไม้ เป็นต้น และอาชีพพนักงานหรือรับจ้าง กว่าหลังการรักษาอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05)
เช่น ในผู้เข้าร่วมโครงการจะมีผู้ที่ประกอบอาชีพเป็น และผลของการนวดมีผลท�าให้อาการล็อกลดลง การ
พนักงานคีย์ข้อมูล ซึ่งต้องใช้นิ้วในการกดแป้นพิมพ์ เคลื่อนไหวจากการก�ามือ การเหยียดนิ้วมือดีขึ้นกว่า
้
ของคอมพิวเตอร์ตลอดเวลาและซ�า ๆ ส่วนอาชีพ ก่อนการรักษา
รับจ้างประกอบอาชีพหมอนวด ซึ่งต้องใช้นิ้วมือกด จากผลการศึกษาครั้งนี้ยังพบว่าการเหยียดนิ้ว
หรือนวดผู้ป่วยเป็นประจ�า อาชีพแม่ค้าหรือพ่อค้า ต้อง ก่อนการรักษาครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 พบว่า การเหยียด
จ่ายตลาด หิ้วถุงหนัก ใช้มือจับตะหลิวในการท�าอาหาร นิ้วไม่ได้องศาในครั้งที่ 2 มีจ�านวนผู้ป่วยที่เหยียด
และอาชีพรับจ้างท�าดอกไม้ประดิษฐ์ ซึ่งใช้นิ้วมือใน นิ้วไม่ได้องศาเพิ่มมากขึ้นจากครั้งที่ 1 ทั้งนี้จากการ
้
การประดิษฐ์ดอกไม้เป็นเวลานานและซ�า ๆ อาชีพที่ สัมภาษณ์ข้อมูลพบว่า ผู้ป่วยยังมีพฤติกรรมในชีวิต
กล่าวมาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีผลกระทบต่อนิ้วมือ ซึ่ง ประจ�าวันซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวซึ่งเป็นกิจกรรมที่ใช้
ก่อให้เกิดอาการของโรคนิ้วล็อก มืออย่างรุนแรงในชีวิตประจ�าวัน เช่น ตัดกิ่งต้นไม้ ท�า
ค่าเฉลี่ยของคะแนนความปวดของผู้ป่วยที่มารับ อาหาร หิ้วถุง ท�าดอกไม้ประดิษฐ์ ดังนั้นการท�าการ
การรักษาก่อนการรักษา มีค่าคะแนนความปวด (VAS) ศึกษาที่จะได้ผลควรมีการปรับพฤติกรรมและหลีก
อยู่ในระดับปานกลาง 4.25 หลังจากการนวดในครั้งที่ เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดผลกระทบต่อ
1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 คะแนนความปวดลดลง อย่าง อาการของโรค พบว่าผู้ป่วยที่มารักษามีวิธีการปฏิบัติ
มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p-value = 0.05) ดังตารางที่ 2 ตัวระหว่างการรักษา คือการยกของหนัก ยังใช้การ
ผลประเมินลักษณะการก�ามือข้างที่นิ้วล็อก พบ ด�ารงชีวิตประจ�าวันเหมือนเดิม และไม่บริหารตามที่
ว่าการนวดมีผลต่อการก�ามือ ซึ่งหลังจากนวดในครั้ง คณะผู้วิจัยแนะน�า ดังนั้นการนวดราชส�านักครั้งนี้ได้
แรกการก�ามือได้ดีขึ้น แต่การเหยียดนิ้วพบว่า หลังการ ผลในการลดปวดได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งต้องควบคู่กับ