Page 209 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 209
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 191
คณะผู้วิจัยจึงท�าการศึกษาประสิทธิผลเบื้องต้น สถิติในก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
ของการนวดไทยแบบราชส�านักในการรักษาโรคนิ้ว สถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยง
ล็อกและพัฒนาการนวดไทยให้เป็นทางเลือกในการ เบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างก่อนและหลัง
รักษาโรคนิ้วล็อกต่อไป การรักษาด้วยการนวดราชส�านัก ด้วย สถิติ pair
ระเบียบวิธีศึกษ� t-test
เป็นการวิจัยแบบไม่มีกลุ่มควบคุม ในผู้ป่วยที่ ขั้นตอนก�รเก็บข้อมูล
มีอาการล็อกของนิ้วมือ ประเมินผลการรักษาโดยการ การศึกษาครั้งนี้เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความน่า
เปรียบเทียบประสิทธิผลเบื้องต้นก่อนและหลังได้รับ เชื่อถือ ลดอคติ ผู้ที่ประเมินอาการ เป็นพยาบาลที่ไม่
การนวดไทยแบบราชส�านัก ในวันที่ 1, 3 และ 5 เกี่ยวข้องกับการนวด ผ่านรับการอบรมและทดลอง
กลุ่มตัวอย่างการศึกษา เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้า ใช้แบบประเมินจนมีความช�านาญ และเป็นผู้ประเมิน
ร่วมวิจัยเข้าร่วมโครงการ คือ เป็นผู้ป่วยที่มีอาการล็อก ผลการรักษาคนเดียวตลอดโครงการ โดยจะผู้ประเมิน
ของนิ้วมือระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง อายุ 18-65 ปี ประสิทธิผลหลังได้รับการนวดราชส�านัก วันที่ 1, 3
ที่มารับบริการที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย สถาบัน และ 5
การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการ
แพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้รับการตรวจ ขั้นตอนก�รนวดไทยแบบร�ชสำ�นัก
โดยแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ยินดีเข้า ผู้นวดเป็นแพทย์แผนไทยประยุกต์ที่มีใบ
ร่วมโครงการ ไม่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ประกอบโรคศิลปะแพทย์แผนไทยประยุกต์ มี
ไม่เคยได้รับการผ่าตัดบริเวณแขน คอ ไหล่ ประสบการณ์รักษาด้วยการนวดอย่างน้อย 5 ปี โดย
การศึกษานี้ได้รับการอนุมัติให้ด�าเนินการวิจัย ผู้นวดจะเป็นคนเดียวกันตลอดการวิจัย
จากคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้าน ก่อนการนวดแพทย์แผนไทยประยุกต์ ตรวจ
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และประเมินตามแนวทางการแพทย์แผนไทย ดังนี้
จ�านวนกลุ่มตัวอย่าง 30 ราย ประเมินลักษณะฝ่ามือทั้ง 2 ข้าง ตรวจจุดกดเจ็บ
ค�านวณกลุ่มตัวอย่างโดยการประเมินจากผล บริเวณนิ้วที่มีอาการ คล�าบริเวณโคนข้อนิ้ว เพื่อ
การนวดที่ผ่านมาพบว่า ผู้ป่วยที่มารับการรักษาด้วย ประเมินความผิดปกติของกระดูก ประเมินลักษณะ
การนวดมีอาการลดปวดและสบายตัวขึ้น 0.68 ค่า การเคลื่อนไหว โดยให้ก�ามือ เหยียดนิ้ว ทดสอบแรง
เบี่ยงเบนมาตรฐานของความแตกต่างของระดับการ ก�ามือ
ปวดเรื้อรัง 0.94 ระดับความเชื่อมั่น 95% (α = 0.05) ขั้นตอนการนวดรักษา ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน
β = 0.08 จากการค�านวณได้กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา เป็นเวลาประมาณ 45 นาที ดังนี้
ครั้งนี้ 30 ราย ขั้นตอนที่ 1 นวดพื้นฐานบ่า โดยใช้แรงที่จะกด