Page 204 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 204

186 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           หมอยาพื้นบ้าน ได้สมุนไพรมารักษาโรคจากแหล่ง  สมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ พัฒนาศักยภาพและ
           สำาคัญ 3 แหล่ง คือ แหล่งธรรมชาติ สวนสมุนไพรที่  ต่อยอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน เพื่อ

           ปลูกบริเวณรอบบ้าน ไร่นาหรือวัด และสถานจำาหน่าย  เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพ เนื่องจากการรักษา
           ยาแผนโบราณ หมอพื้นบ้านเห็นว่า สมุนไพรบางชนิด  ของหมอพื้นบ้านนั้น มีความสอดคล้องกับบริบทของ
           หายากและลดจำานวนลง จึงได้หาวิธีทดแทนและ     สังคมและชุมชน อย่างไรก็ตาม ยาสมุนไพรรักษาโรค

           ปรับสูตรตำารับสมุนไพร นอกจากนี้ยังเห็นว่า สถานที่  นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ พบว่ามีสมุนไพรบางชนิด
           ขายและผลิตยาแผนโบราณ เป็นสถานที่ที่มีบทบาท  ในตำารับของหมอพื้นบ้าน ใช้ในตำาราแพทย์ศาสตร์
           การซื้อและขายสมุนไพรพื้นบ้าน อันเป็นประโยชน์  สงเคราะห์ ฉบับภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดก

           ในการศึกษาการใช้ประโยชน์จากยาสมุนไพรพื้นบ้าน  ทางวรรณกรรมของชาติ ดังจะเห็นได้จาก พระคัมภีย์
           ต่อไป ส่วนของสมุนไพรที่ใช้ในตำารับยารักษานิ่วใน  มุจฉาปักขันทิกา ตำารับยาที่ชื่อว่า อุตราอุด สรรพคุณ
           ระบบทางเดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน พบว่า มีการ  แก้มุตกิด (เป็นโรคที่เกิดขึ้นเฉพาะกับสตรี มีอาการ

           ใช้ส่วนของสมุนไพรที่แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละ  ของการถ่ายปัสสาวะผิดปกติ) มีตัวยาที่ตรงกับตำารับ
           ส่วนของสมุนไพรให้ผลการรักษาที่แตกต่างกัน ถ้า  ของหมอพื้นบ้าน คือ รากกล้วยตีบ เป็นส่วนผสม ใน

           ใช้ตรงกับส่วนของสมุนไพรจะส่งผลให้การรักษาได้  ตำารับยารักษาโรค อุปทม (เป็นโรคที่เกิดทั้งบุรุษและ
           ผลดี โดยแบ่งออกได้เป็น 6 ส่วน คือ ราก ใบ ทั้งต้น   สตรี เกิดจากการเสพเมถุนกับหญิงสัญจรโรคหรือ
           เนื้อในฝัก หัวหรือเหง้า เนื้อไม้ สอดคล้องกับงานวิจัย  หญิงโสเภณี) มีตัวยา ข้าวเย็นเหนือ เป็นส่วนผสม

                           [10]
           ของโอภาส ชามะรัตน์  ที่สรุปไว้ว่า ชนิดและประเภท  และตำารับยารักษานิ่ว 4 จำาพวก (นิ่วศิลาปูน, นิ่วเนื้อ,
           ของยาสมุนไพร ที่หมอพื้นบ้านนำามาใช้รักษาความเจ็บ  บานทะโรก, กษัยกล่อน) ในที่นี้กล่าวถึงนิ่วศิลาปูน มี

           ป่วย ได้แก่ ลำาต้นหรือแก่น รองลงมาเป็นส่วน ราก หัว   ตัวยา หญ้าพันงูแดง เป็นส่วนผสม ส่วนตำารับยาแก้
                                                                ้
           เปลือก และใบ ส่วนดอก และผล มีน้อย และการเก็บ  ชำาระโทษ ชำารั่ว (อาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่หรือมีนำา ้
                                                            ้
           ยาสมุนไพร จะเก็บในวันอังคาร เพราะเชื่อว่าเป็นวันที่  เลือดนำาเหลืองออกมาทางทวารเบาหรือช่องคลอด
           แข็งที่สุดในรอบเจ็ดวัน                      เป็นโรคที่เกิดกับสตรี) มีการใช้ ฝางเสน ที่หมอพื้น
                ปัญหาและอุปสรรคในการเก็บยาสมุนไพรของ   บ้านใช้รักษาอาการเจ็บป่วยในระบบทางเดินปัสสาวะ
           หมอพื้นบ้าน พบว่า ตัวยาสมุนไพรหายาก บางชนิด  เช่นเดียวกัน นอกจากนี้มีตัวยาสมุนไพรที่สำาคัญ

           ไม่มีในชุมชนหรือในป่าธรรมชาติ การซื้อสมุนไพรจาก  หรือตัวยาหลักที่จะขาดไม่ได้ คือ หญ้าหนวดแมว
           ร้านขายยาสมุนไพรหรือร้านยาแผนโบราณ มีราคา   และเดือยหิน พบว่าในคู่มือการใช้ยาจากสมุนไพรใน
           แพง พบสิ่งปลอมปนหรือไม่สะอาด และมีการทำาลาย  บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2555 ใช้สมุนไพรหญ้า

           แหล่งกำาเนิดยาสมุนไพรในป่าธรรมชาติ โดยการใช้  หนวดแมว รักษากลุ่มอาการระบบทางเดินปัสสาวะ
           สารเคมีกำาจัดวัชพืช                         มีข้อบ่งใช้ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา และขับนิ่วขนาด

                จากการศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านรักษา   เล็ก ซึ่งสอดคล้องกับสารานุกรมสมุนไพร รวมหลัก
           โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะในครั้งนี้ ผลการ  เภสัชกรรมไทยและประมวลสรรพคุณสมุนไพรไทย
           ศึกษาวิจัยอาจนำาไปใช้เป็นข้อมูลในการนำาตำารับยา  ที่ได้ระบุว่าหญ้าหนวดแมว มีสรรพคุณ แก้กษัย ขับ
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209