Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 176
158 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบระดับคะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่องข้างขวา (ทาน�้ามันนวดมะแขว่น) และน่องข้างซ้าย
(ทาน�้ามันหลอก) จ�าแนกตามก่อนและหลังการทาน�้ามัน
ระดับคะแนนความปวด กล้ามเนื้อน่องข้างขวา กล้ามเนื้อน่องข้างซ้าย
ในกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม (ทานำ้ามันนวดมะแขว่น) (ทานำ้ามันหลอก) t-value df p-value
(N = 60) x SD x SD
ก่อนการทาน�้ามัน (วันที่ 0) 4.03 2.00 4.02 1.91 0.12 59 0.90 #
หลังการทาน�้ามัน (วันที่ 6) 0.60 1.03 1.08 1.27 -3.16 59 0.003*
p-value 0.000* 0.000*
หมายเหตุ ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ (p-value > 0.05) เปรียบเทียบระดับคะแนนความปวดระหว่างกล้ามเนื้อน่องข้าง
#
ขวา (ทาน�้ามันนวดมะแขว่น) และกล้ามเนื้อน่องข้างซ้าย (ทาน�้ามันหลอก), * แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
(p-value < 0.05) เปรียบเทียบระดับคะแนนความปวดระหว่างกล้ามเนื้อน่องข้างขวา (ทาน�้ามันนวดมะแขว่น) และกล้ามเนื้อ
น่องข้างซ้าย (ทาน�้ามันหลอก), x คือ ค่าเฉลี่ย, SD คือ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ต่างกันทางสถิติ ดังแสดง ในตารางที่ 4 นอกจากนี้ น�้ามันดอกทานตะวัน เป็นน�้ามันพาหะ (carrier
พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่อง Oil) ที่ได้รับการคัดเลือก เนื่องจากเมื่อเตรียมเป็น
ข้างขวาในผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 3 กลุ่ม หลังจากทาน�้ามัน น�้ามันนวดเบื้องต้นโดยการผสมกับน�้ามันหอมระเหย
มะแขว่น มีค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดน้อยกว่ากลุ่มที่ จากผลแห้งมะแขว่นแล้ว เมื่อผ่านการทดสอบความ
ใช้น�้ามันหลอก อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p-value คงตัว โดยวิธีการเก็บในที่เย็นสลับร้อน (freeze and
< 0.05) ดังแสดงในตารางที่ 5 thaw cycle) ท�าให้มีความคงตัวดีที่สุด ซึ่งปรากฏ
ลักษณะทั่วไป, สี, กลิ่น และความรู้สึกเมื่อทาผิว เป็น
อภิปร�ยผล ไปตามลักษณะของน�้ามันนวดที่ดีตามประกาศ
้
องค์ประกอบทางเคมีหลักของน�ามันหอมระเหย ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ส�าหรับ
[19]
จากผลแห้งมะแขว่น ประกอบด้วย terpinen-4-ol, ค่าความเป็นกรดด่าง มีค่าใกล้เคียง pH 5 ตาม
limonene และ sabinene ซึ่งสอดคล้องกับผลการ ประกาศส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ศึกษาวิจัยก่อนหน้านี้ และองค์ประกอบทางเคมี ของน�้ามันนวดที่ดี นอกจากนี้ ค่าความหนืดของ
[10]
[19]
หลักทั้งหมดนี้ มีรายงานแสดงฤทธิ์ต้านการอักเสบ น�้ามันดอกทานตะวันเมื่อผสมกับน�้ามันหอมระเหย
[12]
limonene มีฤทธิ์ยังยั้งการหลั่งสารที่เกี่ยวข้องกับ จากผลแห้งมะแขว่นแล้ว มีค่าความหนืดใกล้เคียงกับ
การอักเสบ ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง ได้แก่ น�้ามันนวดตัวที่รู้จักกันดีในท้องตลาด คือ น�้ามันไพล
prostaglandin E , COX-2 Protein, iNOS และ และน�้ามันลาเวนเดอร์ โดยที่น�้ามันไพลเป็นน�้ามันที่
2
TNF-α [15-16] terpinen-4-ol และ sabinene มีฤทธิ์ นิยมน�ามาใช้เพื่อการรักษา ส่วนน�้ามันลาเวนเดอร์ เป็น
ยับยั้ง TNF-α และ IL-1β และรายงานวิจัยก่อน น�้ามันที่นิยมน�ามาใช้ในสุคนธบ�าบัดเพื่อความงาม
[21]
[20]
้
หน้านี้ พบว่า น�ามัน หอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น ความหนืดของน�้ามัน มีผลต่อการเสียดสีของผิวหนัง
มีฤทธิ์ยับยั้ง COX-2 โดยที่น�้ามันจะช่วยหล่อลื่นระหว่างการนวด ท�าให้ผู้ถูก
[11]