Page 190 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 190

622 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                                                       ความถี่คลื่นไฟฟ้าหัวใจ LH/HF ที่ลดลง ซึ่งเป็นค่าที่
                                                       แสดงถึงสมดุลของระบบประสาท Sympathetic

                                                       และ Parasympathetic ในวันที่ 1 วันที่ 2 และวันที่ 3
                                                       โดยสัดส่วน LF/HF ที่ลดลงแสดงถึงภาวะการทำางาน
                                                       ของระบบประสาท Parasympathetic ที่มีมากกว่า

                                                                              [17]
                                                       ระบบประสาท Sympathetic ส่งผลให้อัตราการ
                                                       เต้นของหัวใจลดลง ในวันที่ 2 และวันที่ 3 ตามลำาดับ
                                                       โดยการเปลี่ยนแปลงของค่าอัตราการเต้นของหัวใจ

                                                       ขึ้นกับความถี่ของ action potential ที่สร้างจาก
                                                       SA node ส่งไปกระตุ้นเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งการ
                                                       ทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติเป็นปัจจัยหนึ่งใน

                                                       การควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ โดยความเครียด
                                                       เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำาให้อัตราการเต้นของหัวใจมีค่า

                                                       เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ เป็นผลมาจากกระตุ้นการทำางาน
                                                       ของระบบประสาท Sympathetic ซึ่งเป็น Cardio-
                                                       acceleratory nerve ทำาให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น [18-19]

                                                       ผลเบื้องต้นของตำารับยาพอกลมปะกังแสดงให้เห็นว่า
                                                       ยาพอกลมปะกังมีผลต่อการทำางานของระบบประสาท

                                                       Parasympathetic ซึ่งมีความสัมพันธ์กับภาวะความ
           หมายเหตุ  *, ** และ *** คือ p-value < 0.05, p-value   ผ่อนคลายของร่างกายและอาจมีผลในการลดภาวะ
                   < 0.01 และ p-value < 0.001 ตามลำาดับเมื่อ  ความเครียด
                   เปรียบเทียบกันระหว่างก่อนและหลังได้รับยาพอก
                   ลมปะกัง                                 ตำารับยาพอกลมปะกังมีส่วนประกอบของ พริก

           ภาพที่ 1 ผลการเปรียบเทียบค่าความผันแปรของอัตรา  ไทยสด ขิงสด ผิวมะกรูดสด ซึ่งมีกลิ่นเฉพาะ และ
                                                                   ้
                   เต้นของหัวใจ วันที่ 1 – วันที่ 3 คือ Heart Rate   มีสารในกลุ่มนำามันหอมระเหยที่เป็นองค์ประกอบ
                                                        ้
                   (A), Low Frequency (B), High Frequency (C)   นำามันหอมระเหยเมื่อได้รับการสูดดมเข้าไปทางจมูก
                   และ Low Frequency/High Frequency ratio   จะผ่านเซลล์ประสาทรับกลิ่นใน Olfactory nerve
                   (D) ก่อนและหลังได้รับยาพอกลมปะกัง
                                                       และแปลงสัญญาณเป็นสื่อประสาทหรือสื่อเคมี
                                                       ไฟฟ้า ส่งไปยังสมองส่วนลิมบิก  เกิดการกระตุ้น
                                                                                [2]
           ความถี่ พบว่า ยาพอกลมปะกังสามารถเพิ่มค่า HF ซึ่ง  ให้หลั่งสารเอนโดฟินและสารซีโรโทนิน และเพิ่มการ

           แสดงถึงการทำางานของระบบประสาท Parasympa-    ทำางานของระบบประสาทพาราซิมพาเธติก ส่งผลใน
           thetic ที่เพิ่มขึ้นในการควบคุมการทำางานของหัวใจ  การเพิ่มการทำางานของ Vagus nerve ทำาให้อัตรา
           ในวันที่ 1 วันที่ 2 และวันที่ 3 สอดคล้องกับค่าสัดส่วน  การเต้นของหัวใจลดลง เกิดการผ่อนคลายและลด
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195