Page 189 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 189

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  621




            ตารางที่ 1  แสดงค่าความผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจในผู้เข้าร่วมวิจัยก่อนและหลังได้รับยาพอกลมปะกังในวันที่
                     1 – วันที่ 3

                                                      ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
             ความผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจ           ก่อนได้รับยา      หลังได้รับยา     p-value
                                                     พอกลมปะกัง         พอกลมปะกัง

             Heart Rate (bpm)             วันที่ 1   84.13 ± 8.56      82.75 ± 9.01      0.231
                                          วันที่ 2   87.75 ± 10.65     83.06 ± 6.91     0.001 ***
                                          วันที่ 3   87.13 ± 8.23      83.75 ± 6.61      0.003 **
             Low Frequency (ms )          วันที่ 1    5.91 ± 0.92       6.21 ± 1.02      0.094
                            2
                                          วันที่ 2    5.99 ± 0.73       5.98 ± 1.09      0.984
                                          วันที่ 3    5.70 ± 0.86       5.73 ± 0.71      0.871
             High Frequency (ms )         วันที่ 1    5.39 ± 1.29       6.00 ± 0.99      0.018 *
                            2
                                          วันที่ 2    5.16 ± 1.07       5.62 ± 0.95      0.020 *
                                          วันที่ 3    4.89 ± 0.89       5.50 ± 0.79     0.001 ***
             Low Frequency/High Frequency ratio  วันที่ 1   2.31 ± 1.63   1.52 ± 1.03    0.004 **
                                          วันที่ 2    3.02 ± 2.47       1.58 ± 0.83      0.019 *
                                          วันที่ 3    3.37 ± 3.22       1.63 ± 1.12      0.012 *

            หมายเหตุ  *, ** และ *** คือ p-value < 0.05, p-value < 0.01 และ p-value < 0.001 ตามลำาดับ เมื่อเปรียบเทียบกันระหว่าง
                     ก่อนและหลังได้รับยาพอกลมปะกัง



            เต้นของหัวใจ
                 ผลการเปรียบเทียบค่าความผันแปรของอัตรา       ผลการเปรียบเทียบค่าความผันแปรของอัตรา
            เต้นของหัวใจวันที่ 1 พบว่า หลังจากได้รับยาพอก  เต้นของหัวใจวันที่ 3 พบว่า HR มีค่าลดลงอย่างมี

            ลมปะกัง มีค่า HF เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ   นัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.01) และมีค่า HF เพิ่มขึ้น
            (p < 0.05) และ LF/HF มีค่าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ  อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.001) นอกจากนี้ยัง
            ทางสถิติ (p < 0.01) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนได้รับ  พบว่า LF/HF มีค่าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

            ยาพอกลมปะกัง                                (p < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนได้รับยาพอก
                 ผลการเปรียบเทียบค่าความผันแปรของอัตรา  ลมปะกัง
            เต้นของหัวใจวันที่ 2 พบว่า HR มีค่าลดลงอย่างมีนัย

            สำาคัญทางสถิติ (p < 0.001) และ HF มีค่าเพิ่มขึ้น          อภิปร�ยผล
            อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) นอกจากนี้ยัง     ผลเบื้องต้นของตำารับยาพอกลมปะกังต่อความ

            พบว่า LF/HF มีค่าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ   ผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจในผู้ที่มีความเครียด
            (p < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนได้รับยาพอก   อยู่ในระดับปานกลางจากการประเมินโดยใช้
            ลมปะกัง                                     แบบสอบถาม PSS เมื่อวิเคราะห์ค่า HRV ในรูปแบบ
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194