Page 187 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 187

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  619




            (purposive sampling) จากผู้ที่มีความเครียดอยู่  รับประทานยาหรืออาหารเสริม อยู่ในระหว่างการตั้ง
                                              [14]
            ในระดับปานกลาง โดยใช้แบบสอบถาม PSS  และ     ครรภ์
            ยินดีที่จะเข้าร่วมการวิจัย โดยผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนจะ
            ได้รับการพอกยาพอกลมปะกังบริเวณขมับทั้ง 2 ข้าง   เครื่องมือที่ใช้ในก�รรวบรวมข้อมูล
            และประเมินค่าความผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจ      - การวัดการทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติ
                                              ้
            ก่อนและหลังการพอกยาพอกลมปะกัง ทำาซำาติดต่อ  และสภาวะความเครียด โดยการตรวจวัดความ
            กันเป็นเวลา 3 วัน ที่คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์  ผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจด้วยเครื่อง Auto-
            ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัด  nomic Nervous System Function Assessment

            อุบลราชธานี                                 รุ่น SA-3000P (Medicore Inc., Korea) ในการบันทึก
                 การศึกษานี้ผ่านการรับรองด้านจริยธรรม   ค่าอัตราการเต้นของหัวใจ (Heart Rate: HR), LF, HF
            จากคณะกรรมการจริยธรรมงานวิจัยในมนุษย์       และ LF/HF

            มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เลขที่ HE611016     - การประเมินระดับความเครียด โดยใช้
                                                        แบบสอบถาม Perceived Stress Scale ของโคเฮน
            ก�รคำ�นวณกลุ่มตัวอย่�ง                      แคมาร์ค และเมอร์เมลสตีน ซึ่งแปลโดยสิริสุดา ชาว

                                                             [14]
                 คำานวณหากลุ่มตัวอย่างจากโปรแกรม n4Stu-  คำาเขต ประกอบด้วย คำาถามที่เกี่ยวกับความรู้สึก
            dies โดยอ้างอิงจากงานของ V. Buttagat et al. ใน  ของผู้เข้าร่วมวิจัยใน 1 เดือนที่ผ่านมามีจำานวนทั้งหมด

                  [15]
            ปี 2011  ค่า Mean = 0.66, S.D. = 0.35 จากการ  14 ข้อ โดยเป็นคำาถามทางเชิงบวกจำานวน 7 ข้อ และ
            คำานวณได้กลุ่มตัวอย่างจำานวน 16 คน          คำาถามเชิงลบจำานวน 7 ข้อ ซึ่งคะแนนรวมมีค่าอยู่

                                                        ระหว่าง 14–70 คะแนน กำาหนดเกณฑ์การประเมินจาก
            เกณฑ์ก�รคัดเข้�                             คะแนนรวม โดยแบ่งระดับความเครียดเป็น 3 ระดับ

                 ผู้ที่มีอายุ 18–21 ปี มีความเครียดระดับปาน  ดังนี้ ช่วง 14–32 คะแนน หมายถึง มีความเครียดระดับ
                                                         ่
            กลาง (ช่วงคะแนนอยู่ในระดับ 33–51 คะแนน) จาก  ตำา ช่วง 33-51 คะแนน หมายถึง มีความเครียดระดับ
            แบบประเมิน PSS และยินดีเข้าร่วมโครงการ ไม่มี  ปานกลาง (ใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
            ประวัติการแพ้สมุนไพรหรือแพ้กลิ่น ไม่เป็นโรคทาง  ในการศึกษาครั้งนี้) และช่วง 52–70 คะแนน หมายถึง

            ระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคทางระบบประสาท      มีความเครียดระดับสูง
            และสมอง ไม่สูบบุหรี่
                                                        ก�รกระตุ้นให้เกิดคว�มเครียดโดยใช้ Mental
            เกณฑ์ก�รคัดออก                              Arithmetic Task [16]

                 ผู้เข้าร่วมวิจัยแสดงความประสงค์ขอถอนตัว     กระตุ้นโดยผู้วิจัยกำาหนดจำานวนในหลักพัน 1

            ออกจากการวิจัย มีอาการแพ้สมุนไพรหรือแพ้กลิ่น ไม่  จำานวน ให้กับผู้เข้าร่วมวิจัย และให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนำา
            สามารถหยุดการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบ  จำานวนที่กำาหนดลบด้วย 7 และแจ้งผลลัพธ์ที่ได้ให้ผู้
            ของคาเฟอีนหรือแอลกอฮอล์ได้อย่างน้อย 24 ชั่วโมง   วิจัยทราบด้วยการเปล่งเสียง จากนั้นนำาค่าที่คำานวน
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192