Page 185 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 185
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 617
A Pilot Study of the Effect of Lom-Pa-Kang Poultice on Stress: Evaluation
of Heart Rate Variability
Piyaporn Thorajake , Pitchanan Thiantongin,Waraporn Phochaisri, Siriprapa Moonta, Sojirut Saisri
*
Department of Thai Traditional Medicine, Faculty of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ubon Ratchathani Rajabhat
University, Ubon Ratchathani 34000, Thailand
* Corresponding author: piyaporn.t@ubru.ac.th
Abstract
The aim of this study was to evaluate the effects of Lom Pa Kang Poultice (LPKP) on the autonomic
nervous system and stress by measurement of heart rate variability in 16 subjects with a moderate stress level. The
participants were given LPKP on the temples for 20 min; meanwhile, the stress induction was carried out using
Mental Arithmetic Task for 5 min and the heart rate variability measured. These were conducted for 3 consecutive
days. The results showed that the heart rates before and after using LPKP on Day 2 and Day 3 significantly decreased
at p < 0.001 and p < 0.01 respectively. The high frequency spectrums in electrocardiogram significantly increased
for all 3 days at p < 0. 05, p < 0. 05, and p < 0.001 respectively. The ratios of low to high frequency spectrums
significantly decreased for all 3 days at p < 0.01, p < 0.05, and p < 0.05 respectively. Thus, it can be concluded that
LPKP has an effect on heart rate variability in stressed participants by stimulating the function of parasympathetic
pathway, an autonomic nervous system relating to relaxation, and the decrease in heart rates.
Key words: lom-pa-kang, stress, heart rate variability
บทนำ�และวัตถุประสงค์ อะดรีนาลิน (adrenaline) เพิ่มมากขึ้น ความดันโลหิต
ความเครียดเป็นภาวะหรือความรู้สึกที่ถูก สูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว ส่งผลต่อความผันแปรของอัตรา
กดดัน วิตกกังวล ไม่สบายใจ อันเกิดจากสาเหตุ หรือ เต้นของหัวใจ (Heart Rate Variability: HRV) และ
ปัจจัยต่าง ๆ มีผลทำาให้ร่างกายและจิตใจขาดสมดุล การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจทำาให้ค่าสัดส่วน
[1]
่
ภาวะความเครียดมีความสัมพันธ์ต่อสมดุลของระบบ ช่วงความถี่ตำา/ช่วงความถี่สูง ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ประสาทอัตโนมัติทำาให้การทำางานของระบบประสาท สูงขึ้น การตรวจวัดการทำางานของระบบประสาท
[3]
พาราซิมพาเทติก (parasympathetic) ทำางานน้อย อัตโนมัติและสภาวะความเครียดใช้หลักการเดียวกับ
ลงในขณะพัก โดยการทำางานของระบบประสาท การวัดค่า HRV ซึ่งเป็นการนำาค่าช่วงห่างของคลื่น
Parasympathetic เป็นตัวแปรที่บ่งชี้ถึงสภาพทาง ในช่วง R ถึง R ที่ต่อเนื่องกันของกราฟ QRS com-
ด้านจิตใจว่ามีความผ่อนคลายมากน้อยเพียงใด plex จากคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram)
[2]
ความเครียดยังส่งผลต่อการเพิ่มการทำางานของระบบ มาวิเคราะห์การทำางานของระบบประสาท Sympa-
ประสาทซิมพาเทติก (sympathetic) ในขณะพัก มี thetic และ Parasympathetic ซึ่งเป็นระบบประสาท
ผลทำาให้การหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล (cortisol) และ อัตโนมัติที่มีอิทธิผลต่อการส่งกระแสประสาทมายัง