Page 186 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 186

618 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                                                                              [6]
           Sinoatrial node (SA node) มีผลต่อการกำาหนด  ตาพร่า วิงเวียน หรืออาเจียน ตามคัมภีร์ชวดารมี
           อัตราการเต้นของหัวใจและสามารถบ่งชี้ถึงระดับ  ตำารับยาที่ใช้ในการรักษาโรคลมปะกังคือ ยาพอกลม

           ความเครียดของสภาวะด้านจิตใจและสภาวะด้าน     ปะกัง กล่าวไว้ว่า “พริกไทย 2 สลึง ขิงสด 1 บาท ผิว
           ร่างกายได้ การวิเคราะห์ค่า HRV ในรูปแบบความถี่   มะกรูด 6 สลึง หญ้าแพรก 3 บาท สารส้มที่สะตุ 8 บาท
                                                                               [7]
           (frequency domain) ประกอบด้วย หน่วยมาตรฐาน  ตำาพอกแก้ลมปะกังแลลมเข้าข้อ  จากการศึกษาพบ
           ในช่วงความถี่สูง (High Frequency: HF) แสดงผล  ว่าสาร piperine ที่แยกได้จากผลพริกไทยสามารถ
                                                                                      [8]
           การทำางานของระบบประสาท Parasympathetic ที่  ออกฤทธิ์ต้านอาการเจ็บปวดในหนูทดลอง  ขิงมีฤทธิ์
           ควบคุมการทำางานของหัวใจ หน่วยมาตรฐานในช่วง  ต้านการอาเจียนในสัตว์ทดลอง  และสามารถบรรเทา
                                                                              [9]
                  ่
           ความถี่ตำา (Low Frequency: LF) แสดงผลการ    ความเจ็บปวดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเสื่อมโดยการ
           ทำางานของระบบประสาท Sympathetic เป็นหลักร่วม  ใช้แผ่นแปะสารสกัดขิงบริเวณเข่า  มะกรูดมีฤทธิ์
                                                                                 [10]
           กับการทำางานของระบบประสาท Parasympathetic   ในการลดความดันโลหิต บรรเทาภาวะซึมเศร้าและ
                            ่
           และสัดส่วนความถี่ตำา/ความถี่สูง (LH/HF ratio)   ความเครียดในมนุษย์  หญ้าแพรกมีฤทธิ์ต้านการ
                                                                        [11]
                                                                                [12]
           แสดงถึงสมดุลของระบบประสาท Sympathetic และ   ชักและบำารุงหัวใจในสัตว์ทดลอง  สารส้ม มีรสฝาด
           Parasympathetic หากสัดส่วน LF/HF มีค่าลดลง  เปรี้ยว สรรพคุณสมานทั้งภายนอกและภายใน แก้ระดู
           แสดงถึงภาวะการทำางานของระบบประสาท Para-     ขาว แก้หนองใน และหนองเรื้อรัง เป็นยาขับปัสสาวะ
           sympathetic มากกว่าระบบประสาท Sympathetic   ขับนิ่ว แก้ปอดอักเสบ สมานแผล [13]

           และหากสัดส่วน LF/HF มีค่าสูงขึ้น แสดงถึงภาวะการ     การวิจัยครั้งนี้จึงเป็นการศึกษานำาร่อง (pilot
           ทำางานของระบบประสาท Sympathetic ที่มีมากกว่า  study) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลเบื้องต้น

           ระบบประสาท Parasympathetic [4]              ของตำารับยาพอกลมปะกังต่อความผันแปรของอัตรา
                ความเครียดเป็นสาเหตุสำาคัญอย่างหนึ่งที่นำา  เต้นของหัวใจ ในผู้ที่มีความเครียดอยู่ในระดับปาน
           ไปสู่อาการปวดศีรษะจากความเครียด (tension-   กลาง (ช่วงคะแนนอยู่ในระดับ 33–51 คะแนน) จาก

           type headache) ประมาณร้อยละ 80–90 ของผู้ที่  แบบประเมิน Perceived Stress Scale (PSS) เพื่อ
           มีอาการปวดศีรษะจากความเครียดจะมีอาการปวด    เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ด้านวิทยาศาสตร์ที่จะยืนยัน
           ตื้อ ๆ ที่ขมับ หน้าผาก กลางศีรษะหรือท้ายทอยทั้ง 2   ประสิทธิผลของตำารับยา และเป็นแนวทางในการเลือก

           ข้าง อาจจะมีอาการในช่วงหลังตื่นนอนตอนเช้า และ   ใช้ตำารับยาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพต่อ
           ประมาณร้อยละ 10–20 ของผู้ที่มีอาการปวดศีรษะจาก   ไป
           ความเครียด อาจมีอาการปวดศีรษะข้างเดียว ปวดตุบ ๆ

           ที่ขมับคล้ายไมเกรน บางครั้งไม่สามารถวินิจฉัยแยก         ระเบียบวิธีศึกษ�
           กันได้อย่างชัดเจน หรืออาจพบร่วมกันได้ ลักษณะ     การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบ Pilot
                                           [5]
           อาการดังกล่าวคล้ายกับ “โรคลมปะกัง” ทางการแพทย์  Study จำานวน 1 กลุ่ม เปรียบเทียบผลระหว่างก่อน
           แผนไทยคือ มีอาการปวดหัวมาก ข้างเดียวหรือ 2 ข้าง   และหลังการทดลอง (one group pretest-posttest
           มักเป็นเวลาเช้า ผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น   design) โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191