Page 188 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 188
620 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ได้ลบ -7 อีกครั้ง และแจ้งผลลัพธ์ที่ได้ให้ผู้วิจัยทราบ เกิดความเครียดโดยใช้ Mental Arithmetic Task
้
เช่นเดิม ทำาซำาไปเรื่อย ๆ จนครบ 5 นาที โดยมีเกณฑ์ เป็นเวลา 5 นาที หลังจากกระตุ้นความเครียดผ่านไป
ในการเริ่มคำานวนใหม่ คือเมื่อผู้เข้าร่วมวิจัยตอบผิด 10 นาที ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการวัดค่าความผันแปร
หรือเมื่อผู้เข้าร่วมวิจัยตอบช้ากว่า 30 วินาที ซึ่งจำานวน ของอัตราเต้นของหัวใจ ครั้งที่ 2 (หลังได้รับยาพอกลม
้
้
ที่กำาหนดให้ผู้เข้าร่วมวิจัยคำานวณต้องไม่ซำากันในการ ปะกัง) อีกครั้ง ทำาซำาติดต่อกัน 3 วัน และนำาข้อมูลที่ได้
ทดสอบแต่ละครั้ง จากการวัดมาวิเคราะห์ผลในลำาดับต่อไป
ก�รเตรียมตำ�รับย�พอกลมปะกัง ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูลและก�รใช้สถิติ
เตรียมจากขิงสด (Zingiber officinale Ros- สถิติพรรณนาได้ถูกนำามาใช้ในการวิเคราะห์
coe.) 15 กรัม พริกไทยสด (Piper nigrum L.) 7.5 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ อายุ โดย
กรัม ผิวมะกรูดสด (Citrus hystrix DC.) 22.5 กรัม นำาเสนอในรูปแบบของ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ
หญ้าแพรกสด (Cynodon dactylon (L.) pers.) 45 สถิติเชิงอนุมานจะถูกนำามาวิเคราะห์ด้วย
กรัม และสารส้มสะตุ (Aluminium Sulphate) 120 โปรแกรม IBM SPSS Statistics Base Version 20
กรัม นำาสมุนไพรแต่ละชนิดมาบดหยาบ ผสมให้เข้า ได้แก่ ค่า HR, LF, HF และ LF/HF โดยนำาเสนอในรูป
กันและบรรจุใส่ซองขนาดบรรจุซองละ 3 กรัม แล้วติด แบบของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำาการ
ลงบน Fixomull Stretch (BSN medical GmbH, เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ paired t-test เปรียบเทียบ
Germany) ขนาด 5x5 เซนติเมตร เพื่อช่วยในยึดติด ระหว่างค่าความผันแปรของอัตราเต้นของหัวใจก่อน
บริเวณขมับขณะพอกยาพอกลมปะกัง ได้รับยาพอกลมปะกังและหลังได้รับยาพอกลมปะกัง
โดยกำาหนดระดับนัยสำาคัญทางสถิติ (α) น้อยกว่าหรือ
วิธีก�รศึกษ� เท่ากับ 0.05
ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ผ่านการคัดกรองและยินดีเข้า
ร่วมการวิจัยจะได้รับการพอกยาพอกแก้ลมปะกัง ผลก�รศึกษ�
บริเวณขมับทั้ง 2 ข้างนาน 20 นาที โดยมีขั้นตอนดังนี้
ก่อนทำาการศึกษาให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนั่งพักในห้องที่ไม่มี ข้อมูลพื้นฐ�นของผู้เข้�ร่วมวิจัย
เสียงรบกวนและมีแสงสว่างเพียงพอ อุณหภูมิห้องอยู่ ผู้เข้าร่วมวิจัยที่เข้าร่วมการวิจัยทั้งหมดจำานวน
ที่ 25 องศาเซลเซียส ความชื้น 40–60% เป็นเวลา 5 นาที 16 คน เป็นเพศหญิง จำานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ
จากนั้นผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการวัดค่าความผันแปร 93.8 และเพศชาย จำานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3
ของอัตราเต้นของหัวใจครั้งที่ 1 (ก่อนได้รับยาพอกลม ด้านอายุมีผู้เข้าร่วมวิจัยอายุ 21 ปี จำานวน 9 คน คิด
ปะกัง) ด้วยเครื่อง Autonomic Nervous System เป็นร้อยละ 56.3 อายุ 20 ปี จำานวน 6 คน คิดเป็น
Function Assessment บริเวณปลายนิ้วชี้ด้านซ้าย ร้อยละ 37.5 และอายุ 19 ปี จำานวน 1 คน คิดเป็น
เมื่อวัดเสร็จจะได้รับการพอกยาพอกลมปะกังบริเวณ ร้อยละ 6.3
ขมับทั้ง 2 ข้างทิ้งไว้ เป็นเวลา 5 นาที แล้วกระตุ้นให้ ผลการเปรียบเทียบค่าความผันแปรของอัตรา