Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  627




            หรือแม้กระทั่งใช้เพื่อการเสริมความงาม ภูมิปัญญา  จังหวัดสกลนคร โดยทำาการลงพื้นที่สำารวจ จำานวน
            ไทยเหล่านี้ได้รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนามา  1 แปลง ทั้งหมด 4 ครั้ง ในระหว่างเดือนมกราคม-

                       [2]
            อย่างยาวนาน  จากเหตุผลดังกล่าวทำาให้คณะผู้วิจัย  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 โดยมีวิธีการศึกษาวิจัยและขั้น
            มีความสนใจทำาการสำารวจภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์  ตอนดำาเนินการดังนี้
            พืชสมุนไพรจากป่าครอบครัวในอำาเภอพรรณานิคม        วิธีการศึกษา

            จังหวัดสกลนคร: กรณีศึกษาป่าครอบครัวของนาย        การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดย
            จวงจันทร์ อุสาพรหม สำาหรับปัจจัยที่เลือกพื้นที่นี้ใน  ใช้วิธีการเก็บข้อมูลและสำารวจพืชสมุนไพรในพื้นที่
            การสำารวจ คือ พื้นที่คงสภาพป่าที่มีความสมบูรณ์ และ  ป่าครอบครัวนายจวงจันทร์ อุสาพรหม ตำาบลเชิงชุม

            ใช้ประโยชน์จากป่ามาตั้งแต่สมัยรุ่นของบิดา มารดา   อำาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร จำานวน 1 แปลง
            โดยไม่ได้มีการตัด โค่น แพ่ว ถาง ต้นไม้ในพื้นที่สำารวจ   แล้วบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ของพืชสมุนไพรที่สำารวจ ดัง
            โดยปล่อยไว้เป็นป่าตามธรรมชาติตลอดมา อีกทั้งยัง  รายการต่อไปนี้ ชื่อท้องถิ่น ชื่อสามัญ (ชื่อภาคกลาง)

            เป็นพื้นที่ของนายจวงจันทร์ อุสาพรหม ที่มีเอกสาร  ส่วนที่นำาไปใช้ประโยชน์ ฤดูกาลที่นำาไปใช้ประโยชน์
            สิทธิ์ในการครอบครองถูกต้องตามกฎหมาย จึงทำาให้  และภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์ (วิธีการนำาไปใช้)

            มีความปลอดภัยในการลงพื้นที่เพื่อทำาการสำารวจ      ขั้นตอนดำาเนินการวิจัย
            ประกอบกับมีขนาดพื้นที่ที่สามารถทำาการสำารวจได้ทั่ว     1.  สืบค้นข้อมูลพื้นฐานจากเอกสาร งานวิจัย
            พื้นที่ อีกทั้งนายจวงจันทร์ อุสาพรหม ยังมีแนวคิดที่  และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

            จะอนุรักษ์ไว้ให้เป็นป่าครอบครัวสืบลูกหลานรุ่นต่อไป      2.  การเลือกพื้นที่ในการศึกษาแบบเฉพาะ
            ข้อมูลที่ได้จากการสำารวจจะนำาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน  เจาะจง โดยเป็นพื้นที่ป่าที่ยังเห็นว่ายังอุดสมบูรณ์ ของ

            การอนุรักษ์พื้นที่ป่าของจังหวัดสกลนคร โดยชี้ให้เห็น  นายจวงจันทร์ อุสาพรหม  โดยได้เลือกพื้นที่จำานวน
            ถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในป่าครอบครัวได้  1 แปลง ขนาดพื้นที่ 100 × 100 เมตร
            อย่างมั่นคงและยั่งยืน ในแง่ของใช้เป็นแหล่งอาหาร ยา     3.  ติดต่อนัดหมายกับเจ้าของแปลงเพื่อทำาการ

            รักษาโรค การสร้างรายได้ และใช้เป็นที่อยู่อาศัย และ  ชี้แจงและได้ทำาความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของศึกษา
            ยังเป็นการรักษามรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่  วิจัยครั้งนี้ เมื่อเจ้าของแปลงเข้าใจถูกต้องและถี่ถ้วน
            สืบทอดต่อไป                                 แล้ว จากนั้นให้เจ้าของแปลงลงลายมือชื่อเพื่อยินยอม

                 การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้  ให้ทำาการสำารวจและเก็บข้อมูลในขั้นต่อไป
                                                                                      [3]
            ภูมิปัญญาจากพืชสมุนไพรจากป่าครอบครัวของนาย       4.  ทำาการวางแปลงสำารวจขนาด  100 × 100
            จวงจันทร์ อุสาพรหม ในอำาเภอพรรณานิคม จังหวัด  เมตร ในพื้นที่ป่าครอบครัวที่คัดเลือก และภายใน

            สกลนคร                                      ทำาการวางแปลงย่อยขนาด 10 × 10 เมตร รวมทั้งหมด
                                                        100 แปลงย่อย โดยมีการเก็บข้อมูลในแปลงย่อยทุก
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                แปลงทำาการเก็บข้อมูลต้นไม้ทุกชนิดที่มีขนาดเส้น


                 สำารวจพืชในแปลงของนายจวงจันทร์ อุสาพรหม   รอบวงมากกว่า 1 เซนติเมตร และความสูงมากกว่า
            บ้านเลขที่ 226 หมู่ 1 ตำาบลเชิงชุม อำาเภอพรรณานิคม   1.30 เมตร โดยการบันทึกชื่อชนิดและบันทึกการใช้
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200