Page 86 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 86
308 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
The Effectiveness of Aedes aegypti Breeding Prevention Using Crude Extract
from Eucalyptus globules Leaves
Somsak Intamat , Dawprakay Ya-ngam, Varitsara Raksapakdee
*
Thatphanom Crown Prince Hospital, Thatphanom District, Nakhon Phanom 48110, Thailand
Corresponding author: suwanwisit@yahoo.com
*
Abstract
This quasi experimental research aimed to study the effectiveness of Aedes aegypti egg-laying prevention
using crude ethanol extract derived from the leaves of Eucalyptus globulus Labill. A completely randomized design
was used in the study conducted in the premises of Thatphanom Crown Prince Hospital when selecting the sites
for placing water jars. Fifteen jars were used for the experimental group and another 15 for the control group. One
milliliter of E. globulus crude extract was put in each of the experimental jars, while the control jars had only water.
The study duration was 14 days; and the presence of mosquito larvae was assessed every 2 days, beginning on Day
8. Descriptive statistics was used for data analysis. Results showed that mosquito larvae were found in the jars of
the control group: 1 jar on Day 8; 5 jars on Day 10; 10 jars on Day 12; and 15 jars on Day 14, but no larvae were
found in the experimental jars. In conclusion, E. globulus crude extract might be regarded as a potent repellant in
preventing mosquito breeding. Further studies should be carried out with higher herbal extract concentrations and
trial durations in communities
Key words: Eucalyptus globulus Labill, dengue fever, Aedes aegypti, prevention
บทนำ�และวัตถุประสงค์ ปัจจุบันยังไม่มียาหรือวัคซีนที่ปลอดภัย และมี
ยุงเป็นปัญหาสำาคัญอย่างหนึ่งทางสาธารณสุข ประสิทธิผลสูงที่ใช้รักษาทั้งโรคไข้เลือดออกและโรค
ของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ชิคุนกุนยาได้โดยตรง การป้องกันโรคไข้เลือดออก
เช่น ไข้เลือดออกที่มีความรุนแรงมากขึ้นและโรค ไข้สมองอักเสบ เท้าช้าง และไข้มาลาเรีย ยังคงให้ความ
ชิคุนกุนยา จากรายงานสถานการณ์เฝ้าระวังทาง สำาคัญกับการควบคุมยุงพาหะนำาโรคเป็นมาตรการ
ระบาดวิทยาของสำานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค หลัก จากข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา สำานัก
[1]
กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2559 พบว่าโรคไข้เลือด ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคพบว่า ปี พ.ศ. 2530 มี
ออกมีแนวโน้มสูงขึ้น ประเทศไทยมีผู้ป่วยจากไข้เลือด รายงานผู้ป่วยสูงสุดคือ 174,285 ราย (อัตราป่วยตาย
ออกจำานวน 129,040 คน และมีผู้เสียชีวิต 125 คน ใน ร้อยละ 0.5) ในปี พ.ศ. 2540 และพ.ศ. 2541 มีรายงาน
ปี พ.ศ. 2558 คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นตลอด ผู้ป่วย 101,689 และ 127,189 ราย (อัตราป่วย 169.13
ปี พ.ศ. 2559 เป็นประมาณ 166,000 คน โดยพบผู้ และ 209.14 ต่อแสนประชากรตามลำาดับ) จากจำานวน
ป่วยสูงสุดในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน-สิงหาคม) ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่สูงมากขึ้นมาตลอด กระทรวง