Page 87 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 87
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 309
สาธารณสุขจึงจัดให้มีโครงการป้องกันและควบคุม ปี พ.ศ. 2558-2559 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 4,004 ราย
ไข้เลือดออกเฉลิมพระเกียรติปี 2542-2543 เนื่องใน (อัตราป่วย 72.78 ต่อแสนประชากร) และ 2,667 ราย
วโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย (อัตราป่วย 48.39 ต่อแสนประชากร) [2]
เดชมีพระชนมายุครบ 72 พรรษา ระหว่างที่มีการ ยูคาลิปตัส (eucalyptus) เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้
ดำาเนินโครงการอย่างจริงจังนี้พบว่าจำานวนผู้ป่วยได้ ทั่วไป ในใบยูคาลิปตัสมีนำ้ามันหอมระเหยประมาณ
ลดลงอย่างมากคือในปี พ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2543 0.92-2.89% oleum eucalypti ประกอบด้วยสาร เช่น
มีรายงานผู้ป่วย 24,826 และ 18,617 ราย คิดเป็น aromadendrene, cineole, pinene, pinocarvon,
อัตราป่วย 40.39 และ 30.19 ต่อแสนประชากรตาม pinocarveol, cuminaldehyde, 1-acely 1-4 iso-
ลำาดับ และมีผู้ป่วยเสียชีวิต 56 และ 32 ราย คิดเป็น propylide-necyclopentene, quercitrinm quer-
อัตราป่วยตายร้อยละ 0.23 และ 0.17 ตามลำาดับ cetin rutin ในใบพบสาร eucalyptin นอกจากนี้ยัง
อย่างไรก็ตามไข้เลือดออกมีแนวโน้มเพิ่มจำานวนขึ้น มีสารสกัดที่สามารถกำาจัดลูกนำ้ายุงลายได้ประกอบ
ในปี พ.ศ. 2553 มีรายงานผู้ป่วย 115,768 ราย ในปี ด้วยสาร 1,8-cineole, a-terpinyl acetate, a-pi-
พ.ศ. 2559 สำานักระบาดวิทยา ได้รับรายงานผู้ป่วย nene, cis-ocimene, and a-terpineol สารเหล่านี้
[3]
โรคไข้เลือดออกรวม 64,867 ราย แยกเป็นผู้ป่วย มีผลต่อลูกนำ้ายุงลาย ผลของนำ้ามันหอมระเหยที่สกัด
dengue fever จำานวน 38,965 ราย (ร้อยละ 60.07) จากใบยูคาลิปตัสที่ความเข้มข้น 200 mg/l และ 400
dengue hemorrhagic fever (DHF) 25,179 ราย mg/l สามารถกำาจัดลูกนำ้ายุงลายได้ทั้งหมดภายใน 24
(ร้อยละ 38.81) และ dengue shock syndrome ชั่วโมง และเมื่อลดความเข้มข้นลง เปอร์เซ็นต์การตาย
[3]
(DSS) 725 ราย (ร้อยละ 1.12) อัตราป่วย 68.0 ต่อ ของลูกนำ้ายุงลายก็ลดลงตามไปด้วย จากการศึกษา
ประชากรแสนคน เสียชีวิต 61 ราย อัตราป่วยตาย นี้ชี้ให้เห็นว่ายูคาลิปตัสมีคุณสมบัติในการฆ่าลูกนำ้ายุง
ร้อยละ 0.10 จากข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการใน ลายได้ดี
ผู้ป่วยที่สงสัยเป็นไข้เลือดออก โดยกรมวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีแนวความคิดที่จะ
การแพทย์ ประจำาปี พ.ศ. 2559 จากผู้ป่วย 1,503 ใช้สารสกัดหยาบ ที่สกัดด้วยเอทานอลจากใบยูคา
ราย พบผลบวกจากการตรวจแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัส ลิปตัสเพื่อศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดหยาบจาก
เด็งกี่โดยวิธี ELISA 381 ราย ร้อยละ 25.35 จำานวน ใบยูคาลิปตัสต่อการป้องกันการวางไข่ของยุงลาย ทั้งนี้
ผู้ป่วยไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2559 พบผู้ป่วยเริ่มสูงขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการนำาสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีอยู่
ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม หลังจากนั้นเริ่มลดลง จำานวนมากมาใช้ให้เกิดประโยชน์และพัฒนาเป็น
ภาคใต้อัตราป่วยสูงสุด 191.88 ต่อประชากรแสนคน ผลิตภัณฑ์เพื่อลดต้นทุน การนำาเข้าสารเคมีสังเคราะห์
รองลงมาได้แก่ ภาคเหนือ (108.08 ต่อประชากรแสน ที่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและเกิดการต้านทานสาร
คน) ภาคกลาง (79.74 ต่อประชากรแสนคน) และภาค เคมี
ตะวันออกเฉียงเหนือ (72.93 ต่อประชากรแสนคน) [2]
เขตตรวจราชการที่ 8 (จังหวัดอุดรธานี หนองคาย ระเบียบวิธีศึกษ�
เลย หนองบัวลำาภู บึงกาฬ สกลนคร และนครพนม) การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง