Page 140 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 140
362 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจึงจําเป็นต้องมีการ สังคมและจิตวิญญาณ โดยพื้นฐานทางพุทธศาสนา
ปรับกระบวนการทํางาน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ผสมกลมกลืนกับความเชื่อทางพิธีกรรม มีการเรียน
ชุมชน โดยระดมพลังทางสังคมในทุกระดับตั้งแต่ การสอนและการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างกว้างขวาง
ระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรต่าง ๆ สืบทอดมายาวนานหลายพันปีนับเป็นภูมิปัญญาไทย
ในชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันปฏิบัติและร่วมกันรับผิด ที่น่าสนใจในการส่งเสริมสุขภาพตนเองและบุคคลใน
[2]
ชอบ เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายด้านสุขภาพชุมชนให้เข้ม ครอบครัว
แข็งทําให้ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถ ปัจจุบันคนส่วนใหญ่กลับมาเห็นความสําคัญ
พึ่งพาตนเองได้ [1] และใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จาก
อย่างไรก็ตามสถานการณ์ภาวะสุขภาพของคน ธรรมชาติมากขึ้น รวมทั้งการนําสมุนไพรมาใช้ใน
ไทยในปัจจุบัน โดยกระทรวงสาธารณสุขวิเคราะห์ ด้านการรักษาโรค อาหาร เครื่องดื่ม เครื่องสําอาง
สาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยทั่วประเทศในปี และสารที่ให้ประโยชน์อื่น ๆ และทางรัฐบาลโดย
2550 ทั้งหมด 393,255 คน พบว่า เป็นโรคไร้เชื้อหรือ กระทรวงสาธารณสุขได้ส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพร
โรคไม่ติดต่อ 122,833 คน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของ ภายในหมู่บ้าน เพื่อใช้เป็นยาบําบัดรักษาโรค รวมทั้ง
การเสียชีวิตทั้งหมด โรคที่พบว่ามีสถิติการเสียชีวิตสูง ผลักดันให้ประชาชนหันมาสนใจการใช้ประโยชน์จาก
ได้แก่ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เส้นเลือด สมุนไพร นอกจากนั้นกระทรวงสาธารณสุขยังได้ส่ง
ในสมองแตกและโรคหัวใจ สาเหตุของโรคไร้เชื้อ เสริมให้มีการใช้สมุนไพรรักษาโรคควบคู่กับการใช้
ดังกล่าวก็มาจากพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่ถูก ยาแผนปัจจุบันในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนและ
ต้องไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารไขมัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ได้มีการใช้สมุนไพรใน
สูง การไม่ออกกําลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ภาวะ การรักษาโรคจะเห็นว่าการแพทย์แผนไทยในระดับ
ความเครียดจากการทํางาน ฯลฯ สาเหตุของการเสีย ชุมชนหรือระดับท้องถิ่น ประชาชนจํานวนมากยังคง
ชีวิตจากโรคไร้เชื้อทั้งหลาย สามารถป้องกันได้ด้วย พึ่งพาการรักษาจากหมอพื้นบ้านและหมอแผนไทย
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองใน ในยามเจ็บป่วย ถือว่าเป็นการดูแลสุขภาพแบบพึ่งพา
ด้านการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิต [1] ตนเองของชุมชนที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ประเพณี
ดังนั้นจากสถานการณ์ภาวะสุขภาพดังกล่าว วัฒนธรรมและความเชื่อของคนไทย [3]
ทําให้การแพทย์แผนไทยเป็นวิถีการดูแลสุขภาพของ ดังนั้นการวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
คนไทยที่มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพด้วย
ไทย มีการใช้สมุนไพรในรูปแบบของอาหารสมุนไพร การแพทย์แผนไทยและศึกษาความต้องการและ
และการใช้ยาสมุนไพรในการอบ การประคบสมุนไพร ความพึงพอใจของผู้รับบริการเกี่ยวกับการพัฒนา
การนวดไทย การแพทย์แผนไทยเป็นทางเลือกทาง ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพด้วย
หนึ่งในการดูแลสุขภาพ ซึ่งเป็นองค์ความรู้เดิมที่มี การแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่ไม่ได้รักษาเฉพาะ ตําบลในเขตภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งถือได้ว่าเป็นการ
อาการของโรค แต่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการสืบสาน