Page 141 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 141

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  363




            ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่คู่กับสังคมไทยต่อไป  ทั้งสิ้น 863 แห่ง ทําการกําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้
                                                        เกณฑ์ร้อยละ 25 ของจํานวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุข
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                ภาพตําบล ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 215 แห่ง โดย
                                                                [4]
                 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประกอบ  การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิเป็นการคัดเลือกโรง-
            ด้วย การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ   พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลขนาดใหญ่ ดังนั้นจึงเก็บ

            เป็นการศึกษาความต้องการของชุมชนเพื่อเข้าถึง  กลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่มารับบริการโรงพยาบาล
            ความต้องการที่แท้จริงในการหาทรัพยากรท้องถิ่นใน   ส่งเสริมสุขภาพตําบล รวม 3 คน/1 แห่ง ซึ่งมี รพ.สต.
            7 จังหวัด เพื่อให้ได้ทรัพยากรในการนํามาพัฒนาเป็น  จํานวน 215 แห่ง รวมจํานวนทั้งสิ้น 645 คน

            ผลิตภัณฑ์การดูแลสุขภาพ 7 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ จังหวัด     2.  การวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย กลุ่มผู้ให้
            พิษณุโลก ได้ทรัพยากร ถ่านซังข้าวโพด, จังหวัด  ข้อมูลคนสําคัญซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องในด้านสาธารณสุข
            สุโขทัย ได้ทรัพยากร เมล็ดสําโรง, จังหวัดกําแพงเพชร   ได้แก่ ปลัดอําเภอ สาธารณสุขจังหวัด นายกเทศมนตรี

            ได้ทรัพยากร ว่านกาบหอยและต้นมิ้นต์, จังหวัด  ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล นักวิชาการสาธารณสุข
            พิจิตร ได้ทรัพยากร แป้งกล้วย, จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้  อาสาสมัครประจําหมู่บ้าน (อสม.) กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน

            ทรัพยากร ข้าวกล้องไรซ์เบอรี่โค้งสําเภา, จังหวัดตาก   ผู้ประกอบการ นักวิชาการ จํานวน 140 คน
            ได้ทรัพยากรถั่วมะแฮะ และจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้
                     ้
            ทรัพยากรนําแร่ แล้วดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้  เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัย
            เป็นไปตามกระบวนการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน          การวิจัยเชิงปริมาณ แบ่งเป็น 4 ส่วนคือ
            สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง      ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม

            อุตสาหกรรม (2559) ประกอบด้วย จังหวัดพิษณุโลก   ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้และ
            พัฒนาผลิตภัณฑ์เจลล้างหน้าถ่านซังข้าวโพด, จังหวัด  อาชีพ
            สุโขทัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมหมักผมจากเมล็ด         ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุนในการ

            สําโรง, จังหวัดกําแพงเพชร พัฒนาผลิตภัณฑ์เซรั่ม  ดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
            บํารุงผิวหน้าจากว่านกาบหอยกลิ่นมิ้นต์, จังหวัดพิจิตร      ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการเกี่ยวกับ
            พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมพอกผิวกายจากแป้งกล้วย,    การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแล

            จังหวัดอุตรดิตถ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมอัดแท่งจาก  สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลส่ง
            ข้าวกล้องไรซ์เบอรี่โค้งสําเภา, จังหวัดตาก พัฒนาผลิต  เสริมสุขภาพตําบลในเขตภาคเหนือตอนล่าง
            ภัณฑ์เจลกระชับหน้าอกจากถั่วมะแฮะ และจังหวัด      ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจด้าน
                                                ้
            เพชรบูรณ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมนวดตัวจากนําแร่   การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแล
                                                        สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลส่ง
            ประช�กร                                     เสริมสุขภาพตําบลในเขตภาคเหนือตอนล่าง

                 1.  การวิจัยเชิงปริมาณ ประกอบด้วย โรง-      การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการสัมภาษณ์แบบมี
            พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) มีจํานวน  โครงสร้างใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก ซึ่งมีการกําหนด
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146