Page 126 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 126
348 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
บ่าย 4 โมงครึ่ง บรรทมตื่น อุจจาระธาตุ ดังที่เห็นจากพระอาการบังคลหนักในวัน
อธิบายคำาศัพท์ แรกถึง 11 ครั้งด้วยกัน ซึ่งการตรวจอุจจาระธาตุ เป็น
พระอาหารสวย หมายถึง ข้าวสวย เครื่องบอกลักษณะของธาตุและโรคที่เกิดขึ้นด้วย ผู้ที่
พระบังคลหนัก หมายถึง อุจจาระ ตรวจอุจจาระด้วยความละเอียดจะวินิจฉัยโรคได้ใกล้
เสวย หมายถึง รับประทาน ต่อความจริงมาก แพทย์ที่ฉลาด ท่านจึงสอนให้สังเกต
บรรทม หมายถึง นอน อุจจาระหยาบละเอียด เหลวเป็นนำ้า เป็นมูลโค หรือพอ
ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง ช้อน ส้อม จะปั้นก้อน หรือแข็งเป็นพรรดึก สีขาว ดำา แดง เหลือง
พระโอสถ หมายถึง ยา มีเสมหะหรือโลหิตเจือในขณะที่ถ่ายอุจจาระ ปวดมวน
พระโอสถทรงปัด หมายถึง ยาระบาย หรือปวดเบ่งอุจจาระกี่ครั้ง ห่างถี่อย่างไร มีการผายลม
ค่อน หมายถึง มากกว่าครึ่ง เกือบเต็ม มากน้อยอย่างไร ลักษณะของอุจจาระนั้นเป็นเมือกมัน
ปลาหาง หมายถึง ปลาช่อน ระคนหรือเป็นกากแห้งแข็งในอาการต่าง ๆ เหล่านี้ เป็น
พระโอสถอาโป หมายถึง ยานำ้า ที่สังเกตตรวจโรคต่าง ๆ เช่น
[5]
้
พระเสมหะเปลว หมายถึง เมือกที่ออกจาก อุจจาระเหลวเป็นนำา เป็นอาการของโรคลงท้อง
ลำาไส้ที่มีแผ่นบาง ๆ มีลักษณะคล้ายเปลวไฟ หรือธาตุพิการ
สายพระโลหิต หมายถึง ในบริบทนี้คือ ลักษณะ อุจจาระผูกเป็นก้อนแข็ง เคลือบด้วยเยื่อมูกมัน
ของเลือดที่เป็นเส้น ๆ ที่ปนมากับอุจจาระ เกิดเพราะปลายลำาไส้ใหญ่ตีบ แคบ หรือเป็นแผล
อุจจาระหยาบเกิดจากธาตุเสีย นำ้าย่อยอาหาร
2. ก�รศึกษ�วิเคร�ะห์ส�รัตถะต่�ง ๆ ที่ปร�กฏ น้อยหรือไฟธาตุอ่อน ย่อยอาหารไม่แหลก
การศึกษาวิเคราะห์สารัตถะในเอกสารต้นฉบับ อุจจาระละเอียดเหลว แสดงว่าไฟธาตุหรือนำ้า
พระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ฉบับนี้ เป็นการบันทึก ย่อยอาหารไม่ปกติ คือมากเกินควร
เรื่องราวลำาดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ขณะเจ้านายพระองค์ อุจจาระเป็นเมือกมัน เกิดจากรับประทานอาหาร
นี้ทรงประชวร แต่เนื่องด้วยผู้บันทึกอาจจะเป็นเจ้า ที่เป็นมันมาก หรืออุจจาระธาตุลามก อุจจาระพิการ
หน้าที่ใกล้ชิดหรือเป็นผู้ถวายงานเจ้านายจึงไม่ได้ เป็นต้น และจากจดหมายเหตุที่บันทึกอาจจะเป็นวัน
[5]
บันทึกเกี่ยวกับลักษณะพระอาการต่าง ๆ แต่บันทึก แรกที่ทรงพระประชวรและรับการรักษา ซึ่งลักษณะ
ถึงลักษณะพระบังคลหนัก พระโอสถที่ทรงเสวย พระ พระบังคลหนักในแต่ละวันมีจำาแนกได้ 10 ลักษณะ
อาหารที่ทรงเสวยในแต่ละเวลา เป็นต้น มีรายละเอียด ด้วยกันดังนี้
ดังนี้ - พระบังคลหนักเป็นพระเสมหะเปลวมีสายพระ
2.1 ลักษณะของพระบังคลหนัก โลหิตน้อย ๆ
พระบังคลหนัก หรืออุจจาระ เป็นคำาราชาศัพท์ - พระบังคลหนักเป็นมูลโคตั้งกองมีเสมหะน้อย
สำาหรับเจ้านาย ซึ่งจากการบันทึกลักษณะของพระ - พระบังคลหนักเป็นองค์มีเสมหะน้อย
บังคลหนักแต่ละครั้งที่ทรงบังคลหนักนั้น แสดงให้เห็น - พระบังคลหนักเป็นองค์มีพระเสมหะน้อย
ว่าเจ้านายพระองค์นี้น่าจะทรงประชวรด้วยพระโรค - พระบังคลหนักเป็นพระเสมหะมีสายพระโลหิต