Page 114 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 114
336 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ต�ร�งที่ 5 ก�รเปรียบเทียบคว�มแตกต่�งของค่�เฉลี่ยของก�รประเมินคุณภ�พชีวิตระหว่�งกลุ่มทดลองและกลุ่ม
เปรียบเทียบก่อนและหลังเข้�รับก�รบำ�บัด
ระยะเวล� กลุ่มทดลอง (n = 35) กลุ่มเปรียบเทียบ (n = 35) independent p-value
M SD ระดับ M SD ระดับ t-test
ก่อนเข้�ร่วมโปรแกรม 91.20 10.06 ป�นกล�ง 86.17 8.15 ป�นกล�ง -2.297 0.025 *
หลังเข้�ร่วมโปรแกรม 97.28 8.04 ป�นกล�ง 90.20 8.00 ป�นกล�ง -3.693 0.05 *
*p-value < 0.05
เปรียบเทียบด้วยสถิติการทดสอบที พบว่ากลุ่มทดลอง เข็มที่ดื้อต่อการใช้ยา NSAIDS แก้ปวดประจำาเดือน
มีค่าเฉลี่ยของการประเมินคุณภาพชีวิตมากกว่ากลุ่ม มีอาการเจ็บปวดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ซึ่ง
เปรียบเทียบอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) หลัง ไม่ได้มีข้อบ่งชี้ รักษาอาการปวดประจำาเดือน โดย
เข้าโปรแกรมกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของการประเมิน เฉพาะในกลุ่มที่มีข้อห้ามใช้หรือปฏิเสธการรักษายา
คุณภาพชีวิตมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัย NSAIDS หรือยาอื่น
สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ
ระดับอาการปวดประจำาเดือนระหว่างกลุ่มทดลอง
อภิปร�ยผล กับกลุ่มเปรียบเทียบเมื่อเข้ารับการบำาบัดรักษาใน
ประสิทธิผลของการรักษาอาการปวดประจำา แต่ละครั้ง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญในครั้ง
เดือนชนิดปฐมภูมิด้วยการฝังเข็มแบบกำาหนดจุด ที่ 2 (ระหว่างการศึกษา) ครั้งที่ 3 (จบการรักษา) ส่วน
คงที่ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองที่มีการฝังเข็มมี ครั้งที่ 1 (เริ่มรักษา) ครั้งที่ 4 (หลังการรักษา 3 เดือน)
ค่าเฉลี่ยระดับความปวดของหญิงปวดประจำาเดือน ครั้งที่ 5 (หลังการรักษา 6 เดือน) สอดคล้องกับงาน
ชนิดปฐมภูมิก่อนเข้าโปรแกรม (x ± SD) เท่ากับ 6.63 วิจัยของ Caroline A. Smith ที่ผลการรักษาช่วย
[6]
± 1.45 หลังเข้าร่วมโปรแกรมระดับอาการปวดลดลง active phase มีแนวโน้มดีขึ้น และเห็นผลการรักษา
เหลือ 1.94 ± 2.81 ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญ ชัดเจน ส่วนหลังจากการรักษา 6 เดือนและ 12 เดือน
ทางสถิติ (p < 0.05) ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบมีค่าเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ระดับอาการปวดประจำาเดือนก่อนเข้าโปรแกรม 6.11 จากผลการประเมินคุณภาพชีวิตของวิจัยพบ
± 1.58 และหลังเข้าโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยระดับอาการ ว่าก่อนเข้าโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยคุณภาพชีวิตในกลุ่ม
ปวดประจำาเดือน 2.91 ± 2.31 ซึ่งมีความแตกต่างกัน ทดลอง 91.20 ± 10.06 และกลุ่มเปรียบเทียบ 86.17
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) สอดคล้องกับงาน ± 8.15 และหลังเข้าโปรแกรมกลุ่มทดลอง 97 ± 8.04
[6]
วิจัยของ Caroline A. Smith ที่ประเมินประสิทธิผล และกลุ่มเปรียบเทียบ 90.02 ± 8.00 มีความแตกต่าง
การฝังเข็มโดยลดระยะเวลา และระดับความรุนแรง กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) ภายหลังเข้า
ของอาการปวดประจำาเดือนลดลง สอดคล้องกับการ ร่วมโปรแกรม อาการปวดประจำาเดือนมีผลต่อการ
ศึกษาของ V. Iorno, 2007 ที่มีการประเมินผลการฝัง ดำาเนินชีวิตส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ผลต่อการ
[7]