Page 118 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 118
340 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
An Illness Record of a Royalty in King Rama V’s Archives
Kumpon Malapin
Queen Sirikit’s Health Center Kubua, Khu Bua Subdistrict, Mueang Ratchaburi District, Ratchaburi 70000, Thailand
Corresponding author: paleo_samlly@hotmail.com
Abstract
A record on the illness of a royalty is normally a short note in the chronicle that describes the symptoms,
cause and date of death of such a person. In contrast, the illness archive of an unnamed royal family member in
the reign of King Rama V shows chief complaints as well as medications and food given each day. So, the Thai
traditional remedies provided to that person are thoroughly known. This article, therefore, is prepared as a result of
the study of that archive; and the archive’s manuscript has been transliterated into present-day’s Thai script with an
analysis of its many aspects, including stool characteristics, medicines used, food recipes and traditional medical
formulas.
Key words: archives, illness, royalty in King Rama V’s reign, Thai traditional medical doctor
บทนำ�และวัตถุประสงค์ ของประเทศชาติ หนังสือโบราณดังกล่าวไม่เพียงแต่
จดหมายเหตุ เป็นการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ มีคุณค่าในทางวิชาการเท่านั้น ยังแสดงถึงความเป็น
ที่เคยเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวทางด้าน ไปของอารยธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
[1]
ประวัติศาสตร์ โบราณคดี กิจวัตรหรือเรื่องราวต่าง ๆ วัฒนธรรมของชาติในอดีตอีกด้วย
[2]
ที่เกี่ยวกับบุคคลหนึ่ง ๆ ซึ่งส่วนมากเป็นการบันทึก “จดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลสำาคัญ เช่น พระมหา ใด’’ เป็นเอกสารต้นฉบับที่บันทึกเรื่องราวพระ
กษัตริย์และเจ้านาย ขุนนางคนสำาคัญในราชสำานัก อาการประชวรของเจ้านาย โดยไม่ทราบว่าเป็นเจ้า
ซึ่งทำาให้เราคนรุ่นหลังได้ทราบว่าในช่วงเวลานั้น ๆ นายพระองค์ใดเพราะไม่ได้บันทึกพระนามของเจ้า
เกิดเหตุการณ์สำาคัญอะไรบ้าง จดหมายเหตุยังเป็น นายพระองค์นั้น เนื้อหาของจดหมายเหตุได้บันทึก
หลักฐานสำาคัญทางประวัติศาสตร์ ประเภทเอกสาร กิจวัตรต่าง ๆ ที่เจ้านายพระองค์นั้น ปฏิบัติ โดย
ต้นฉบับตัวเขียน หมายถึง เอกสารที่เขียนด้วยลายมือ บันทึกเป็นคำาราชาศัพท์ เช่น พระบังคลหนัก เสวยพระ
เป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งเป็นการสื่อสารความหมาย อาหาร เสวยพระโอสถ พระบรรทมหลับ พระบรรทม
แทนภาษาพูด หนังสือหรือเอกสารที่สร้างขึ้นในสมัย ตื่น นอกจากนี้ยังบันทึกพระอาการไข้ต่าง ๆ ใน
โบราณ คือ หลักฐานที่เป็นภาษาและตัวหนังสือแต่เก่า เวลาที่เสวยพระโอสถจากแพทย์ผู้รักษา ในช่วงเวลา
ก่อนซึ่งสำาเร็จด้วยหัตถกรรม ได้แก่ หนังสือต้นฉบับ ต่าง ๆ ในแต่ละวัน ตั้งแต่เริ่มประชวรจนกระทั่งพระ
ตัวเขียน ตัวจารและตัวจารึก ซึ่งบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ อาการประชวรดีขึ้นตามลำาดับ ซึ่งคำาว่า “ไข้’’ ในบริบท
ในอดีต เป็นหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นถึงประวัติการ นี้ หมายถึง ลักษณะอาการเจ็บไข้หรือไม่สบายตัว ไม่