Page 119 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 119
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 341
ได้หมายความหมายถึงอาการตัวร้อนที่มีอุณหภูมิ ตัวเขียนซึ่งถือว่าเป็นเอกสารปฐมภูมิ ณ ห้องบริการ
สูงเหมือนความหมายในปัจจุบัน การถ่ายถอด เอกสารโบราณ ชั้น 4 อาคาร 2 หอสมุดแห่งชาติ
จดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ให้เป็น หมวดจดหมายเหตุรัชกาลที่ 5 ได้แก่ จดหมายเหตุ
ภาษาปัจจุบัน จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาแนวทาง พระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ใดและเอกสารทุติยภูมิ
การรักษาการถวายพระโอสถในการรักษาพระอาการ ประเภทหนังสือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีขั้นตอนในการ
ไข้ในเวลาต่าง ๆ ในแต่ละวันของเจ้านายพระองค์นั้น ศึกษาดังนี้
ที่ทรงประชวร รวมไปถึงพระอาหารเสวย ซึ่งเป็นตำารับ 1. จัดทำาสำาเนาเอกสารต้นฉบับ
อาหารที่ช่วยส่งเสริมการรักษาฟื้นฟูกำาลังร่างกายจาก 2. ทำาการถ่ายถอดเป็นภาษาไทยปัจจุบันและ
พระอาการประชวร ตีความ
ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 3. วิเคราะห์สารัตถะของเอกสารต้นฉบับใน
ถ่ายถอดและวิเคราะห์เอกสารต้นฉบับ “จดหมายเหตุ ประเด็นต่าง ๆ เช่น ลักษณะพระบังคลหนัก การใช้ยา
ไม่ทราบพระองค์ใด’’ และเพื่อศึกษาสารัตถะทางการ และกระยาหารที่เสวย
ใช้ยาและการรักษาโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบตำารับยาที่ใช้กับตำารับ
ที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับจดหมายเหตุพระอาการ ยาที่พบในตำาราการแพทย์แผนไทยยุคปัจจุบัน
ไข้ไม่ทราบพระองค์ โดยศึกษาแนวทางการรักษา โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องในแต่ละขั้น
โรคของหมอหลวงในสมัยนั้น ทั้งการใช้ยาไทยขนาน ตอน
ต่าง ๆ รวมถึง ตำารับอาหารที่ทรงเสวย เพื่อเป็น
แนวทางในการรักษาโรคทางการแพทย์แผนไทย ซึ่ง ผลก�รศึกษ�
จะเป็นประโยชน์สำาหรับการนำามาปรับใช้ในการรักษา จากเอกสารต้นฉบับตัวเขียนจดหมายเหตุพระ
โรคของการแพทย์แผนไทยในสมัยปัจจุบัน อาการไข้ไม่ทราบพระองค์ใดนั้น ลักษณะเนื้อหา
เป็นการบันทึกพระอาการประชวร การรักษาพระองค์
ระเบียบวิธีศึกษ� การเสวยพระอาหารขณะทรงประชวร ในวันและเวลา
การศึกษาเอกสารต้นฉบับจดหมายเหตุ เรื่อง ต่าง ๆ อย่างละเอียดซึ่งนับว่าเป็นสารัตถะที่เกี่ยวข้อง
บันทึกพระอาการประชวรของเจ้านายในราชสำานักจาก กับการรักษาทางด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร
เอกสารจดหมายเหตุรัชกาลที่ 5 ใช้หลักการวิจัยเชิง ไทยโดยใช้พระโอสถขนานต่าง ๆ ที่ถวายในเวลา
คุณภาพ (qualitative research) เป็นการนำาข้อมูล ต่าง ๆ รวมถึงบันทึกลักษณะของพระบังคลหนักหรือ
ที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับจดหมายเหตุพระอาการ ของเสีย (อุจจาระ) ในแต่ละครั้งว่ามีลักษณะอย่างไร
ไข้ไม่ทราบพระองค์ใด นำามาวิเคราะห์ ซึ่งเรียกวิธีวิจัย พร้อมกับพระอาหารเสวยขณะทรงประชวร การ
ลักษณะนี้ว่า “การวิจัยเอกสาร’’ (documentary re- ศึกษานี้ได้ถ่ายถอดเป็นภาษาไทยปัจจุบัน และศึกษา
search) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมในกลุ่มมนุษยศาสตร์ ภาษา วิเคราะห์สารัตถะต่าง ๆ ได้แก่ ลักษณะของพระบังคล
วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ หนักที่บันทึก การใช้พระโอสถรักษา ตำารับอาหารที่
การศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษาจากเอกสารต้นฉบับ เสวย และศึกษาวิเคราะห์ตำารับยาที่ปรากฏในตำารา