Page 94 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 94
444 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
4. ก�รวิเคร�ะห์ส�รประกอบฟีนอลิกในส�รสกัด อยู่ในกลุ่มที่ 3 เนื่องจากมีค่า SI < 3 รวมไปถึงสารสกัด
ย�งน� ด้วยเทคนิค HPLC จากใบที่มีฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งตับในระดับ moderate
ในการวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกในสารสกัด cytotoxic ส่วนสารสกัดจากเปลือกและกิ่งยางนาไม่มี
จากส่วนต่าง ๆ ของยางนา โดยเทียบกับสารมาตรฐาน ฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งตับ (กลุ่มที่ 5)
ฟีนอลิก 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่ม hydroxybenzoic acids ในการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อราก่อโรคกลากและ
(gallic acid, protocatechuic acid, p-hydroxy- ก่อรังแคพบว่ามีเพียงสารสกัดจากใบและเปลือกของ
benzoic acid, vanillic acid และ syringic acid) ยางนาที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราก่อโรค
และกลุ่ม hydroxycinnamic acids (chorogenic กลากสายพันธุ์ T. mentagrophytes แต่อย่างไร
acid, p-coumaric acid, caffeic acid และ ferulic ก็ตามสารสกัดยางนาไม่สามารถยับยั้งเชื้อราก่อโรค
acid) สามารถระบุองค์ประกอบทางเคมีในสารสกัด อื่น ๆ ที่นำามาทดสอบได้
ยางนาได้ดังนี้ ส่วนใบ เปลือก กิ่ง พบ gallic acid เป็น การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกในสารสกัด
องค์ประกอบ โดยพบในเปลือกมากที่สุด อีกทั้งเปลือก จากยางนาด้วยเทคนิค HPLC ซึ่งสามารถระบุถึง
ยังพบ protocatechuic acid ส่วนกิ่งยางนาพบสาร สารประกอบฟีนอลิกได้ทั้งกลุ่ม hydroxybenzoic
p-coumaric acid และ ferulic acid ดังแสดงใน acids และ hydroxycinnamic acids โดยพบว่า
HPLC chromatogram (ภาพที่ 1) ในสารสกัดยางนาพบสาร gallic acid, p-coumaric
acid, protocatechuic acid และ ferulic acid ซึ่ง
อภิปร�ยผล มีรายงานว่าสารประกอบฟีนอลิกดังกล่าวที่มีฤทธิ์ต้าน
ในการศึกษาฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารสกัด มะเร็งโดยพบว่า gallic acid สามารถยับยั้งการเจริญ
ยางนาในแต่ละส่วนพบว่าสารสกัดยางนาทุกส่วนมี ของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือด (Jurkat) และเหนี่ยวนำาให้
ฤทธิ์ดีในการต้านเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดที่เพาะเลี้ยงใน เกิดการตายแบบอะพอพโทซิส และ p-coumaric
[22]
หลอดทดลอง ซึ่งในการจัดกลุ่มของสารที่มีฤทธิ์ต้าน acid ที่ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งลำาไส้ (HCT-
มะเร็งสามารถได้เป็น 5 กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 poten- 15) ผ่าน ROS-mitochondrial pathway อีกทั้ง
[23]
tially cytotoxic (IC < 100; SI ≥ 3) กลุ่มที่ 2 mod- protocatechuic acid ที่เป็นสารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง
50
erate cytotoxic (100 < IC < 1000; SI ≥ 3) กลุ่มที่ หลายชนิดเช่น มะเร็งเต้านม (MCF7) มะเร็งปอด
50
3 moderate cytotoxic (IC ≤ 1000; SI < 3) กลุ่ม (A549) มะเร็งตับ (HepG2) และมะเร็งต่อมลูกหมาก
50
ที่ 4 มีความเป็นพิษเฉพาะในเซลล์เพาะเลี้ยงที่ไม่ใช่ (LNCaP) ผ่านกลไก DNA fragmentation และการ
เซลล์มะเร็ง (Vero cells) และกลุ่มที่ 5 ไม่มีฤทธิ์ [21] เพิ่มขึ้นของเอนไซม์ caspase-3 และ 8 ที่ส่งผลให้เกิด
ซึ่งจากผลการทดลองสามารถจัดกลุ่มได้ดังนี้ สารสกัด การตายแบบอะพอพโทซิส รวมไปถึง ferulic acid
[24]
จากใบ เปลือก และกิ่งของยางนา มีฤทธิ์ต้านเซลล์ ที่สามารถเหนี่ยวนำาให้เกิดการตายแบบอะพอพโทซิส
มะเร็งเม็ดเลือดขาวในระดับ potentially cytotoxic ในเซลล์มะเร็งเต้านม (MDA-MB-231) ดังนั้นจะ
[25]
(กลุ่มที่ 1) และสารสกัดทั้งสามส่วนยังมีฤทธิ์ต้านเซลล์ เห็นได้ว่าสารสกัดจากกิ่งยางนามีฤทธิ์ต้านมะเร็งเม็ด
มะเร็งปากมดลูกในระดับ moderate cytotoxic ที่จัด เลือดได้ดีที่สุด ซึ่งสัมพันธ์กับสารประกอบฟีนอลิก