Page 138 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 138

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                     ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562
            488 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      Vol. 17  No. 3  September-December 2019
                                                               ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562


                                                                                นิพนธ์ต้นฉบับ



           ผลของโปรแกรมการจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานต่อทักษะการแก้

           ปัญหาและการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำาหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน



           ชุติมา มาลัย , วิสุทธิ์ โนจิตต์, มยุรี บุญทัด, รุ่งนภา ต่อโชติ
                     *
           วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท ตำาบลชัยนาท อำาเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000
            ผู้รับผิดชอบบทความ: wnochit@gmail.com
           *









                                                บทคัดย่อ
                   การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะการ
              แก้ปัญหาก่อนและหลังการทดลอง และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน ระหว่าง
              เดือนกันยายน 2560-เดือนมกราคม 2561 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 จ�านวน 56 คน แบ่งเป็น 7 กลุ่ม
              กลุ่มละ 8 คน ได้รับโปรแกรมการจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ประกอบด้วย 2 ระยะ ได้แก่ 1) การเรียนในภาค
              ทฤษฎีโดยฝึกการสืบค้นความรู้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และวิเคราะห์ข้อมูล และ 2) การน�าข้อค้นพบไปประยุกต์
              ใช้บริการสุขภาพเพื่อสังคม ในการฝึกภาคปฏิบัติในชุมชน จ�านวน 7 ชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
              และการวิเคราะห์ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ระยะที่ 1 นักศึกษาได้เครื่องมือภูมิปัญญาท้องถิ่นจากการฝึกการ
              สืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ (1) สวดมนต์นับลูกประค�า (2) เหยียบรางไม้ไผ่และนวดกะลา (3) ร�าไม้พลอง
                 ฤา
              (4)     ษีดัดตน (5) ลูกประคบสมุนไพร และ (6) การใช้ยางยืด ระยะที่ 2 ภายหลังน�าไปทดลองใช้ พบว่า ทักษะการแก้
              ปัญหาของกลุ่มตัวอย่างหลังการได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p-value < 0.01)
              นักศึกษาพยาบาลสามารถประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ดังนี้ การร�าไม้พลอง
              ส�าหรับผู้สูงอายุป่วยโรคความดันโลหิตสูง จ�านวน 2 ชุมชน การนวดเท้าด้วยรางไม้ไผ่ การเหยียบกะลามะพร้าว และ
              แช่น�้าอุ่นสมุนไพรส�าหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอาการเท้าชา จ�านวน 2 ชุมชน การสวดมนต์แบบนับลูกประค�าร่วม
              กับสมาธิบ�าบัด ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จ�านวน 1 ชุมชน การบริหารข้อเข่าด้วยยางยืด จ�านวน 1 ชุมชน การบริหารข้อ
              เข่าด้วย   ษีดัดตน และลูกประคบสมุนไพรส�าหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม จ�านวน 1 ชุมชน และพบว่าผู้ป่วยที่เข้าร่วม
                   ฤา
              โครงการทุกโครงการมีความรู้ และทักษะในการปฏิบัติตนในแต่ละกิจกรรมผ่านเกณฑ์ประเมินผล ผลการวิจัยในครั้ง
              นี้ อาจารย์พยาบาลและผู้ที่สนใจสามารถน�าไปใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาพยาบาลต่อไป

                   คำ�สำ�คัญ: โครงงานเป็นฐาน, ทักษะการแก้ปัญหา, การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา, โรคไม่ติดต่อ








           Received date 30/10/19; Revised date 20/11/19; Accepted date 21/11/19

                                                   488
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143