Page 136 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 136
486 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
ที่หมอพื้นบ้านเองไม่สามารถอธิบายตามกลไกทาง ที่เกิดโรค [4,22-23]
วิทยาศาสตร์ได้ แต่สามารถเทียบเคียงตามหลัก หมอพื้นบ้านต่างให้เกียรติและยอมรับในองค์
วิทยาศาสตร์ได้ เช่น การห้ามรับประทานอาหารแสลง ความรู้ซึ่งกันและกัน เห็นได้จากการอภิปรายกลุ่ม
บางอย่าง ซึ่งอาจจะทำาให้อาการของโรคเกิดขึ้นมา (focus group discussion) เพื่อการจัดการความรู้
อีกได้ ยกตัวอย่างเช่น ห้ามรับประทานเนื้อวัว หมอ (knowledge management) ไม่สามารถนำาตำารับ
พื้นบ้านได้อธิบายว่าหากรับประทานเนื้อวัวแล้ว ติ่งเนื้อ ยาของแต่ละคนมารวบกันกลายเป็นตำารับเดียว
ที่เคยยุบหรือหลุดออกไปอาจจะงอกขึ้นมาใหม่หรือ ได้ แต่การจัดการความรู้ช่วยให้ทุกคนทราบชื่อตัว
มีอาการของโรคเกิดขึ้นมาอีกครั้ง หากอธิบายตาม ยาสมุนไพรที่เป็นชื่อกลางที่ทุกคนเข้าใจ และทราบ
หลักวิทยาศาสตร์คือการรับประทานเนื้อวัวหรือ ขนาดหน่วยตวงของยาที่รับประทานรวมถึงขั้นตอน
อาหารจำาพวกเนื้อสัตว์ซึ่งเป็นอาหารที่ย่อยยาก จึง การรักษาที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันได้ เพราะหมอ
ทำาให้กระบวนการย่อยต้องเพิ่มระยะเวลามากขึ้น ส่ง พื้นบ้านเชื่อว่าการได้รับสืบทอดภูมิปัญญาของแต่ละ
ผลให้ลำาไส้เคลื่อนตัวช้ากว่าปกติและทำาให้เกิดอาการ คนนั้นต่างมีครูผู้มีภูมิเป็นผู้ให้ความรู้และมิอาจจะ
ท้องผูก เมื่อมีอาการท้องผูกแล้วก็จะทำาให้ผู้ป่วยต้อง ก้าวก่ายได้
เบ่งอุจจาระเป็นประจำาจึงทำาให้เกิดโรคริดสีดวงทวาร การแพทย์พื้นบ้านเป็นหนึ่งการแพทย์ทาง
ในที่สุด และหากคนที่มีรอยโรคแล้วยิ่งทำาให้เกิดโรค เลือกซึ่งเป็นการรวมความรู้ทักษะและการปฏิบัติ
้
ซำาได้ง่ายกว่าคนที่ยังไม่เคยเป็นโรคนี้ ส่วนการงด ตามแบบแผนการรักษาและประสบการณ์ในการ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งมีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดและ รักษาสุขภาพตลอดจนในการป้องกัน การวินิจฉัย
้
อาจจะก่อให้เกิดโรคซำาได้ [4,18-19] หรือการรักษาความเจ็บป่วยทางร่างกายและจิตใจ
มีประวัติศาสตร์อันยาวนานในการใช้การรักษาโดย
ข้อสรุป เฉพาะโรคเรื้อรังแต่ก็ยังไม่ใช่การแพทย์กระแสหลัก
[24]
หมอพื้นบ้านในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษมีองค์ ควรมีการจัดการองค์ความรู้ที่ได้เป็นระบบ เพื่อการ
ความรู้ในการรักษาริดสีดวงทวารที่หลากหลายและ อนุรักษ์ไว้ และสามารถสืบค้นเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์
แตกต่างกันไปตามที่ได้สืบทอดหรือเรียนรู้มา แต่การ ได้ในอนาคต และมีการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เพื่อ
รักษาต่างมุ่งเน้นไปในทิศทางของการเยียวยาจิตใจ ใช้ในการรักษาทางการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ
พร้อมกับการเยียวยาร่างกาย โดยมีพื้นฐานการรักษา ดังนั้นการตระหนักถึงคุณค่าของการแพทย์พื้นบ้าน
อยู่บนความเชื่อทางพระพุทธศาสนาและมีตำารับยา และนำาองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้อย่างถูกต้อง จะส่ง
คอยช่วยบรรเทาพยาธิสภาพที่เกิดกับร่างกาย [15-17] ซึ่ง ผลให้เกิดประโยชน์ต่อการรักษาให้มีความปลอดภัย
หลักแนวคิดบางอย่างก็สามารถเชื่อมโยงได้กับศาสตร์ และมีประสิทธิผลสูงสุด อย่างไรก็ตามการวิจัยนี้
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนปัจจุบัน แต่ ไม่มีการเทียบเคียงชื่อวิทยาศาสตร์ ซึ่งในการศึกษา
การรักษาด้วยยาทางการแพทย์แผนปัจจุบันมุ่งเน้น ต่อเนื่องควรมีการเทียบเคียงชื่อวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้
การรักษาที่ระบบหลอดเลือดหรือเยื่อบุทวารบริเวณ ประโยชน์ด้านคลินิกต่อไป