Page 151 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 151
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 289
ไปสู่ความยั่งยืนได้ เลือกมีประโยชน์ ความศรัทธาในองค์ความรู้ด้าน
[17]
นอกจากนี้ความเข้มแข็งของการทําให้เป็นระบบ การแพทย์วิถีธรรมและการดําเนินงานค่ายยังไม่
ของค่ายสุขภาพตามแนวการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายยังขาดการนําเสนอข้อมูล
ด้วยการมีผู้นําที่มุ่งมั่น มีเป้าหมายที่ชัดเจนและมั่นคง เชิงวิชาการที่น่าเชื่อถือ การทํางานวิจัยเกี่ยวกับผล
[18]
มีการเสริมสร้างทักษะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้กับผู้ร่วม การเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของ
งานทุกระดับ อาจเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อ ผู้ที่นําความรู้ทางการแพทย์วิถีธรรมไปใช้อย่างจริงจัง
ความยั่งยืนของการดําเนินงานในภาพรวม เช่นเดียว และต่อเนื่องและขาดการติดตามประเมินผล ในการ
กับงานวิจัยของเพน-แอนดรูว์ พบว่าความชัดเจน ดําเนินงานมีความยากลําบากในการหาวัตถุดิบ และ
[14]
ของวิสัยทัศน์และความยึดมั่นของผู้นําที่จะผลักดัน สมุนไพรเพื่อนํามาใช้ในการดูแลสุขภาพในบางพื้นที่
การดําเนินงานให้ไปสู่การขยายผลในระยะยาว และ ที่จัดค่ายสุขภาพ และขาดการเชื่อมโยงและประสาน
ในการดําเนินงานของค่ายสุขภาพนี้ได้สนับสนุน งานระหว่างบุคลากรสุขภาพและจิตอาสาแพทย์วิถี
ส่งเสริมให้ประชาชนผู้เข้าร่วมอบรม เกิดพฤติกรรม ธรรมจากส่วนกลาง
ในการยอมรับและเห็นคุณค่าของกิจกรรมในค่ายที่
ไม่เป็นภาระงานที่เพิ่มขึ้นในชีวิตประจําวัน รวมไป ข้อสรุป
ถึงกระบวนการจัดการบริหารภายในค่าย ทั้งด้าน ประชาชนผู้เข้าค่ายสุขภาพวิถีธรรมเป็นผู้ได้
บุคลากร เงินทุนสนับสนุนค่ายที่ส่วนหนึ่งได้มาจาก รับประโยชน์จากโครงการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถี
การขายผลิตภัณฑ์ที่มีผลดีต่อสุขภาพ เพื่อเป็นการ ธรรม การศึกษานี้เป็นการทดสอบการประเมินผล
เพิ่มศักยภาพในการดําเนินงานค่ายสุขภาพ ตลอด ความยั่งยืนของเทคนิค 9 ข้อ (ยา 9 เม็ด) โดยใช้การ
จนผู้นําองค์กรส่วนท้องถิ่นที่ให้การสนับสนุนและผลัก รับรู้และความคิดเห็นของประชาชนผู้เข้าค่ายสุขภาพ
ดันให้กิจกรรมนั้นให้เกิดการดําเนินงานได้อย่างต่อ โดยนําสถิติ t - test (p - value < 0.05) มาใช้ในการ
เนื่องในระยะยาวอีกด้วยตามแนวคิดของคัมมิ่งและ วิเคราะห์ ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่าผู้ที่เข้าค่าย
เวอร์คเลย์์ และตามแนวนโยบายของด้านยุโรปที่ สุขภาพทั้งที่เคยใช้/เคยปฏิบัติตามเทคนิคดังกล่าว
[15]
หันมาสนับสนุนแพทย์ทางเลือกในการรักษาคนไข้ นั้น หรือไม่เคยใช้/ไม่เคยปฏิบัติตามเทคนิคเหล่านั้น
โรคเรื้อรัง [16] การศึกษาพบว่าผู้ที่เคยใช้/เคยปฏิบัติตามเทคนิค
ปัญหาอุปสรรคและข้อจํากัดในการดําเนินงาน 5 ข้อ คือ การขูดพิษ ขูดลม หรือกัวซา การการสวน
้
ค่ายสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่ดําเนินงาน ล้างหรือทําดีท็อกซ์ การแช่มือแช่เท้าในนําสมุนไพร
หลายระดับ หลากหลายสาขาอาชีพ ยังมีความเข้าใจไม่ การออกกําลังกาย การฝึกโยคะ และการรับประทาน
ตรงกัน เกิดความขัดแย้งในการดําเนินงาน และยังขาด อาหารปรับสมดุล เทคนิคเหล่านี้สามารถที่จะทําให้
บุคลากรที่มีความรู้และมีส่วนรับผิดชอบการดําเนิน เกิดความยั่งยืนได้ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้
งานค่ายสุขภาพตามแนวแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม เข้ารับการอบรม ซึ่งหมายถึงประชาชนผู้เข้ารับการ
ทั้งในหน่วยงานราชการและในชุมชน ประชาชน อบรมสามารถนําไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดความยั่งยืนได้
ยังมีความไม่เชื่อมั่นว่าการใช้แนวทางแพทย์ทาง ต่อไป เมื่อพิจารณาระดับความคิดเห็นในผู้เข้ารับ