Page 156 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 156
294 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
เพียรและคณะปี 2559 ที่อยู่ในแผนแม่บท กล่าวว่า วิจัยด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยในระดับ
[1]
งานวิจัยสมุนไพรไทยกระจุกตัวอยู่ที่งานวิจัยพื้นฐาน ประเทศที่ชัดเจน จึงนับเป็นสิ่งสำาคัญและถือได้ว่า
ที่ไม่เอื้อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพสมุนไพร รวมทั้ง เป็นการปฏิรูปพื้นฐานที่จำาเป็นของประเทศอันจะ
การวิจัยประยุกต์ที่มุ่งวิจัยสมุนไพรเพื่อใช้ประโยชน์ เป็นการเพิ่มโอกาสและพัฒนาขีดความสามารถของ
ทางคลินิกยังมีปริมาณน้อยและกระจัดกระจาย ไม่ ประเทศไทยในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ตลอดจนเพิ่ม
เชื่อมต่อกับรายการสมุนไพรที่มีการศึกษาฤทธิ์พื้นฐาน การใช้ยาและสินค้าที่ผลิตจากทรัพยากรจากภายใน
ไว้แล้ว ทำาให้การพัฒนาสมุนไพรไม่สามารถสนับสนุน ประเทศถือเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งแก่
ให้เกิดการส่งต่อไปถึงผู้บริโภค หรือใช้เพื่อรักษาโรค ประเทศไทยในระยะยาว [5-7]
ทางคลินิกได้แท้จริง สะท้อนถึงภาพใหญ่ของประเทศ แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร
ที่การวิจัยด้านสมุนไพรและแพทย์แผนไทยไม่ครบ ไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ซึ่งพัฒนาจาก
[1]
ห่วงโซ่ ขาดการส่งต่อ และขาดการทำางานวิจัยแบบทีม ความร่วมมือระหว่างราชการและภาคเอกชนอย่าง
บูรณาการความเชี่ยวชาญระหว่างหน่วยงาน ส่งผลก เป็นเอกภาพโดยมีกรมการแพทย์แผนไทยและการ
ระทบให้ประเทศไม่สามารถใช้ประโยชน์จากงานวิจัย แพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขเป็นแกนกลาง
ได้แท้จริง ประสานงานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ใน
หากพิจารณาจากห่วงโซ่ของการพัฒนายาจาก การกำาหนดทิศทางนโยบาย ยุทธศาสตร์และภารกิจ
สมุนไพรและการแพทย์แผนไทย อาจมีกระบวนการ ในด้านสมุนไพรของประเทศไทยอย่างเป็นระบบได้
ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องมากมายได้แก่ ก) การวิจัยพื้นฐาน เสนอประเด็นเรื่อง กลไกการขับเคลื่อนงานวิจัยด้าน
เช่น Ethnomedicinal research, Phytochemistry สมุนไพรและการแพทย์แผนไทยเป็นมาตรการสำาคัญ
research, Physiochemistry research, Pharma- มาตรการหนึ่งที่เสนอให้มีโครงสร้างเชิงนโยบาย และ
cognostic research, การวิจัยเพื่อจัดทำามาตรฐาน กำาหนดทิศทางที่ชัดเจน เน้นให้เกิดการบูรณาการ
วัตถุดิบ และการวิจัยทางพรีคลินิก ได้แก่ งานวิจัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำาเนินงานไปในเส้นทาง
ทางพิษวิทยา และงานวิจัยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา, ข) เดียวกัน ตลอดจนสนับสนุนและผลักดันให้เกิดการ
การวิจัยประยุกต์ เช่น การวิจัยทางคลินิก เพื่อยืนยัน วิจัยที่ครบห่วงโซ่ สามารถนำาไปสู่การใช้ประโยชน์
ประสิทธิผลและความปลอดภัยของสมุนไพร และ ในระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งสามารถเพิ่มมูลค่า
ค) งานวิจัยสนับสนุนที่จำาเป็น เช่น งานวิจัยเชิงระบบ เศรษฐกิจให้แก่ประเทศได้จริง กรมการแพทย์แผน
และนโยบายเพื่อการนำาไปใช้ประโยชน์ในระบบบริการ ไทยและการแพทย์ทางเลือกโดยสถาบันวิจัยการ
สุขภาพของประเทศ, งานวิจัยที่จำาเป็นต่อการพัฒนา แพทย์แผนไทยในฐานะหน่วยงานหลักที่มีพันธกิจ
อุตสาหกรรมสมุนไพรของประเทศ เช่น การวิจัยด้าน ของการเป็นศูนย์กลางความร่วมมือในการทำางานวิจัย
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสมุนไพร การวิจัยด้านการ เฉพาะด้านการแพทย์ดั้งเดิมของประเทศและมีความ
ตลาดเพื่อส่งเสริมการใช้ การวิจัยด้านกฎหมาย กฎ มุ่งมั่นที่จะผลักดัน มุ่งเน้นให้เกิดการวิจัยสมุนไพร
ระเบียบ รวมถึงการวิจัยความต้องการของผู้บริโภค และการแพทย์แผนไทยที่ครบห่วงโซ่ สามารถนำาไป
เป็นต้น ดังนั้นการกำาหนดนโยบายและทิศทางการ ใช้ประโยชน์ในระบบบริการสุขภาพและทางเศรษฐกิจ
[3-4]