Page 150 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 150

288 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562



                           อภิปร�ยผล                     กิจกรรมหรือได้รับการอบรมมีความสามารถที่จะทําให้

                 จากศึกษาพบว่าเทคนิคทั้ง 5 ข้อมีการให้คะแนน  เกิดความยั่งยืนได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเทคนิคทั้ง 5 ที่
             ความยั่งยืนของผู้ที่เคยใช้และไม่เคยใช้เทคนิคการ  ให้ผลทางสถิติที่มีนัยสําคัญ และรวมทั้งศักยภาพของ

             ดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัย  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการกระตุ้นตามกระบวนการ
             สําคัญ อาจเป็นไปได้ว่าเนื่องจากผู้เข้ารับการอบรมใน  เรียนรู้นั่นเอง นอกจากนั้นยังมีความเห็นเพิ่มเติมว่า

             ค่ายหรือประชาชนกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี   เพียงใช้เทคนิคการดูแลสุขภาพเพียงไม่กี่ข้อก็สามารถ
             (ตารางที่ 1) ซึ่งเป็นวัยที่เป็นผู้ใหญ่และมีความคิดเรื่อง  แก้ไขหรือบรรเทาปัญหาสุขภาพได้และเห็นผลชัดเจน
             สุขภาพมากขึ้นเพราะหลายคนเริ่มมีความเจ็บป่วยเกิด  เช่น ใช้วิธีการกัวซาแก้ไขอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อย

             ขึ้นจึงหันมาสนใจในสุขภาพของตนเอง และเลือกที่จะ  กล้ามเนื้อ ความตึงเครียด แก้ไข้ ใช้วิธีโยคะแก้ไขหรือ
             ปฏิบัติ โดยเฉพาะในส่วนที่ต้องตั้งใจทํา  ตั้งใจปฏิบัติ  ลดอาการปวดหลัง อาการชาจากหมอนรองกระดูกทับ
                                                                             ้
             ซึ่งวัยผู้ใหญ่นี้สามารถอดทนปฏิบัติได้มากในเทคนิค  เส้นประสาท ใช้วิธีการดื่มนําสมุนไพรและอาหารปรับ
                                                                        ้
             ที่ต้องใช้อุปกรณ์ที่แปลกใหม่น่าสนใจ ตนเอง สนใจที่  สมดุลสามารถลดนําตาลในเลือดได้เมื่อมีการตรวจ
                                                                  ้
             จะเรียนรู้ จึงสามารถทําให้มีความยั่งยืนต่อสุขภาพของ  สอบระดับนําตาล ลดความดันและไขมันสูง และ
             ตนเกิดขึ้นได้ในส่วนของเทคนิคทั้ง 5 เหล่านั้น เพื่อที่  การใช้วิธีการอื่น ๆ แก้ไขอาการไม่สุขสบายอื่นๆ อีก
             จะป้องกันมิให้มีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองหรือ  มากมาย
             บรรเทาปัญหาสุขภาพที่ตนเองมีอยู่ได้              ในข้อคําถามเชิงนิเสธของความยั่งยืนของ

                 การศึกษายังพบอีกว่าประชาชนผู้เข้าค่ายส่วน  เทคนิค 9 ข้อต่อสุขภาพ พบว่ามีคะแนนการประเมิน
             ใหญ่ที่ตอบแบบสอบถาม ให้ความเห็นว่าหลังการ   อยู่ในระดับปานกลางและจะเห็นได้ว่าประชาชนผู้เข้า
             อบรมเรียนรู้ผ่านค่ายสุขภาพฯ สามารถดูแลสุขภาพ  ค่ายส่วนใหญ่มีความเห็นว่าการจัดกิจกรรมเผยแพร่

             ตนเองได้มากขึ้น เมื่อนํามาปรับใช้ในชีวิตประจําวัน  ความรู้ด้านการแพทย์วิถีธรรมในพื้นที่ยังไม่เพียงพอ
             ประชาชนผู้เข้าค่ายเชื่อว่า จะทําให้สุขภาพดีขึ้นได้ซึ่ง  และไม่ครอบคลุมกับจํานวนกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่

             สอดคล้องกับการศึกษาของอาเมด [10-11]  ประชาชน  เพราะจัดอบรมกันปีละ 1-2 ครั้ง เท่านั้น สามารถ
             สามารถหาวัตถุดิบหรือสมุนไพรในพื้นที่ของตนเอง  ถ่ายทอดเนื้อหาได้เพียงบางส่วน มีบางพื้นที่ที่มีการ
             สําหรับนํามาใช้ดูแลสุขภาพได้ไม่ยาก แนวทางการ  จัดกิจกรรมต่อเนื่องทุกเดือน ประชาชนที่เข้าอบรม
                                         [12]
             ดําเนินชีวิตตามหลักการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมช่วย  ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าจํานวนครั้งที่จัดอบรมน้อย ได้รับ
             ให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างประหยัด เรียบง่าย ปฏิบัติ  ความรู้เพียงบางส่วน ไม่ครบองค์รวม ไม่ต่อเนื่อง บาง

             ใช้ในชีวิตประจําวันได้ การนําความรู้ด้านการแพทย์  คนเกิดความสงสัยเมื่อเกิดปัญหา หลังจากอบรมแล้ว
             ทางเลือกวิถีธรรมมาใช้สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายด้าน  ก็ไม่ทราบว่าจะไปถามใคร วิทยากรก็ไม่ได้อยู่ในพื้นที่
             การรักษาพยาบาล และประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่าการ  ในส่วนนี้บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ [12-13]  อาจเข้ามา

             นําความรู้ด้านการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมมาใช้จะ  ช่วยเพื่อให้ประชาชนได้ซักถามหรือเข้ามามีส่วนร่วม
             สามารถลดความถี่ในการไปรับบริการที่หน่วยบริการ  ให้กําลังใจหรือให้ข้อมูลอื่นๆที่อาจจะเกี่ยวข้องเพื่อ
             สาธารณสุขได้ ซึ่งสิ่งนี้สะท้อนให้เห็นว่าผู้เข้าร่วม  ทําให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความสนใจมากขึ้นและนํา
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155